สงครามอังกฤษ-อิรัก

สงครามอังกฤษ-อิรัก
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง (เขตสงครามเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง)

ทหารอังกฤษที่แบกแดด, 11 มิถุนายน ค.ศ. 1941
วันที่2–31 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 (1941-05-02 – 1941-05-31)[7][nb 4]
สถานที่
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
คู่สงคราม

 สหราชอาณาจักร

สนับสนุนทางอากาศและทะเล:
 ออสเตรเลีย[nb 1]
 นิวซีแลนด์[nb 2]
กรีซ[nb 3]
 อิรัก
สนับสนุนทางทหาร:
 ไรช์เยอรมัน[4]
 อิตาลี[5]
 ฝรั่งเศสเขตวีชี[6]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
โคลด อชินเค
อาร์ชิบอลด์ วาเวลล์[9]
เอ็ดเวิร์ด ไกแนน[10]
วิลเลียม เฟรเซอร์[9]
วิลเลียม สลิม
เอช. จี. สมาร์ต[11]
Ouvry Roberts
จอห์น ดัลเบียก
เราะชีด อาลี อัลเกลานี
เศาะลาฮุดดีน อัศศ็อบบาฆ โทษประหารชีวิต
กามิล ชะบีบ โทษประหารชีวิต
ฟะฮ์มี ซะอีด โทษประหารชีวิต
มะห์มูด ซัลมาน โทษประหารชีวิต
เฟาซี อัลกาววุกญี
อะมีน อัลฮุซัยนี[12]
แวร์เนอร์ ยุงค์
กำลัง
1 infantry division[13]
2 brigade groups[nb 5]
100+ aircraft[nb 6]
4 divisions[16]
30,000 troops[17]
116 Iraqi aircraft[18] (50–60 serviceable)[10]
21–29 German aircraft[4][19]
12 Italian aircraft[5]
ความสูญเสีย
บาดเจ็บและเสียชีวิตน้อย[20]
มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 200 คน[21]
อากาศยาน 28 ลำ[22]
เสียชีวิต 500 นาย[20]
อากาศยานอิรักที่ใช้งานได้ส่วนใหญ่[23]
อากาศยานเยอรมัน 19 ลำ[5]
อากาศยานอิตาลี 3 ลำ[5]

สงครามอังกฤษ-อิรัก เป็นการทัพทางทหารของฝ่ายสัมพันธมิตรที่นำโดยบริติชในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองต่อราชอาณาจักรอิรักภายใต้การนำของเราะชีด อัลเกลานี ที่ได้ยึดอำนาจในรัฐประหารอิรัก ค.ศ. 1941 ด้วยความช่วยเหลือจากเยอรมันและอิตาลี การทัพครั้งนี้ได้ส่งผลให้รัฐบาลของเกย์ลานีต้องล่มสลาย การยึดครองอิรักอีกครั้งโดยบริติช และการกลับคืนสู่อำนาจของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งอิรัก มกุฎราชกุมารอับดัลอิละฮ์ ซึ่งเป็นมิตรกับบริติช

อิรักในอาณัติถูกปกครองโดยบริติชนับตั้งแต่ ค.ศ. 1921 ก่อนที่อิรักจะได้รับเอกราชเพียงในนามใน ค.ศ. 1932 บริติชได้สรุปสนธิสัญญาอังกฤษ-อิรัก ค.ศ. 1930 ซึ่งถูกต่อต้านจากฝ่ายชาตินิยมอิรัก รวมทั้งเราะชีด อัลเกลานี แม้ว่าอิรักถือว่าเป็นอำนาจที่เป็นกลางภายใต้การปกครองของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ อับดัลอิละฮ์ มันมีรัฐบาลที่สนับสนุนบริติช ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1941 ฝ่ายชาตินิยมอิรักได้ก่อรัฐประหารจตุรัสทองคำด้วยความช่วยเหลือจากนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี รัฐประหารครั้งนี้ได้โค่นล้มอับดัลอิละฮ์ และแต่งตั้งอัล-เกย์ลานีเป็นนายกรัฐมนตรี เขาสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรต้องตอบโต้ สำหรับฝ่ายสัมพันธมิตร อิรักทำหน้าที่แทนเป็นสะพานทางบกที่สำคัญระหว่างกองกำลังบริติชในอียิปต์และอินเดีย

หลังจากการสู้รบปะทะหลายครั้ง การโจมตีทางอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เปิดฉากต่ออิรัก เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม การทัพดังกล่าวส่งผลให้รัฐบาลที่มีอายุสั้นของอัล-เกย์ลานีต้องล่มสลาย และแต่งตั้งอับดัลอิละฮ์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์อีกครั้ง สิ่งนี้ได้เพิ่มอิทธิพลของฝ่ายสัมพันธมิตรในเขตสงครามตะวันออกกลาง

หมายเหตุ

  1. HMAS Yarra, representing Australia, participated at sea.[1]
  2. HMNZS Leander, representing New Zealand, participated at sea.[2]
  3. Greek airmen undergoing training at Habbaniya flew sorties against the Iraqis.[3]
  4. ในวันที่ 30 พฤษภาคม เราะชีด อัลเกลานีกับผู้สนับสนุนหลบหนีไปเปอร์เซีย จากนั้นในเวลา 4 นาฬิกาของวันที่ 31 พฤษภาคม นายกเทศมนตรีแบกแดดลงนามสงบศึกบนสะพานข้ามคลอง Washash[8] ปฏิบัติการทหาร Mercol, Gocol และ Harcol ต่อกลุ่มสงครามกองโจรดำเนินต่อในเดือนมิถุนายน
  5. See Iraqforce; Habforce constituted one reinforced Brigade group while the force based at RAF Habbaniya constituted the other.
  6. 85 aircraft based at RAF Habbaniya.[14][15] 18 bombers were flown into RAF Shaibah as reinforcements[11] while No. 244 Squadron RAF was already based there equipped with Vicker Vincents.[15] No. 84 Squadron RAF was rebased to RAF Aqir, in Palestine, to support British ground forces during the rebellion.[15] Four Bristol Blenheims of No. 203 Squadron RAF were flown to RAF Lydda, also in Palestine, to fly combat missions over Iraq.[15]

อ้างอิง

  1. Wavell, p. 4094.
  2. Waters, p. 24.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Carr
  4. 4.0 4.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair195
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair196
  6. Sutherland, Jon; Canwell, Diane (2011). Vichy Air Force at War: The French Air Force that Fought the Allies in World War II. Barnsley: Pen & Sword Aviation. pp. 38–43. ISBN 978-1-84884-336-3.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair182-3
  8. Playfair 1956, pp. 192, 332.
  9. 9.0 9.1 Playfair 1956, p. 186.
  10. 10.0 10.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair179
  11. 11.0 11.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair183
  12. Patterson, David (2010). A Genealogy of Evil: Anti-Semitism from Nazism to Islamic Jihad. Cambridge University Press. p. 114. ISBN 978-0-521-13261-9.
  13. Mackenzie, p. 101.
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair182
  15. 15.0 15.1 15.2 15.3 Jackson, p. 159.
  16. url="https://resources.saylor.org/wwwresources/archived/site/wp-content/uploads/2011/08/HIST351-10.2.2-Anglo-Iraqi-War.pdf"
  17. Lyman, Iraq 1941, p. 25.
  18. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lyman2526
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mack100
  20. 20.0 20.1 Wavell, p. 3439.
  21. "Resources.saylor.org" (PDF). Commonwealth War Graves Commission. สืบค้นเมื่อ 12 August 2010.
  22. Playfair 1956, p. 193.
  23. Lyman, p. 48.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!