การทัพมาลายา
บทความนี้
ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์
reason หรือ
talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ
เมื่อวางแท็กนี้ ให้พิจารณาเชื่อมโยงคำขอนี้ กับโครงการวิกิ
การทัพมาลายา เป็นชุดเหตุการณ์การรบระหว่างกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร กับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริติชมาลายา (มาลายาของบริเตน) นับตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ถึงวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1942 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การรบที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นการรบทางบกระหว่างหน่วยรบต่างๆ ของเครือจักรภพอังกฤษ และกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น สำหรับสหราชอาณาจักร อินเดีย ออสเตรเลีย และสหพันธรัฐมาลายา แล้ว ยุทธการครั้งนี้นับได้ว่าเป็นหายนะ
ยุทธการนี้เป็นที่จดจำจากการใช้ทหารราบจักรยาน (bicycle infantry) ซึ่งช่วยให้กองกำลังสามารถขนย้ายยุทธปัจจัยและเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วในภูมิประเทศที่เป็นป่าทึบ กรมทหารช่างหลวง ของอังกฤษ (Royal Engineers ) ได้ทำลายสะพานนับร้อยแห่งด้วยระเบิดระหว่างการล่าถอย ซึ่งช่วยให้สามารถถ่วงเวลาการรุกของกองทัพญี่ปุ่นได้เล็กน้อย เมื่อญี่ปุ่นสามารถยึดสิงคโปร์ได้สำเร็จนั้น ปรากฏว่าสหราชอาณาจักรสูญเสียกำลังรบ 9,600 นาย[ 4]
ภูมิหลัง
ในระหว่างช่วงสงคราม ยุทธศาสตร์การทหารของกองทัพสหราชอาณาจักรในภูมิภาคตะวันออกไกลอยู่ในสภาพย่ำแย่เนื่องจากขาดทั้งความระมัดระวังและเงินทุน แผนการของรัฐบาลสหราชอาณาจักรในกรณีที่เกิดความเป็นศัตรูใดๆ ก็ตามนั้น พึ่งพากับการประจำการของกองเรือรบที่เข้มแข็งในฐานทัพเรือสิงคโปร์เป็นหลัก เพื่อป้องกันทั้งการยึดครองของสหราชอาณาจักรในภูมิภาคตะวันออกไกลและเส้นทางเดินเรือสู่ออสเตรเลีย การดำรงอยู่ของทัพเรือที่เข้มแข็งเช่นนี้ถูกถือว่าเป็นการแสดงออกซึ่งการขัดขวางบัรรดาผู้รุกรานที่อาจเป็นไปได้ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1940 พลโทไลโอเนล บอนด์ (Lionel Bond) ผู้บัญชาการกองทัพมลายา ได้ยอมรับว่าการป้องกันสิงค์โปร์อย่างได้ผลนั้นจำเป็นต้องอาศัยการปัองกันจากทั่วทั้งคาบสมุทร และฐานทัพเรือเพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงที่จะขัดขวางการบุกของญี่ปุ่นได้[ 5] ยุทธศาสตร์การป้องกันของสหราชอาณาจักรจึงขึ้นอยู่กับสมมติฐานสองประการ อย่างแรกคือจะต้องมีการเตือนภัยแต่เนิ่นๆ ในเวลาที่เพียงพอที่จะให้มีการระดมกำลังเสริมของกองทัพสหราชอาณาจักรได้ อย่างที่สองคือทางสหรัฐอเมริกาจะให้ความช่วยเหลือในกรณีที่เกิดการโจมตีขึ้น แต่เมื่อถึงปลาย ค.ศ. 1941 ก็เป็นที่แน่ชัดแล้วว่าสมมติฐานทั้งสองประการนี้ไม่มีทางที่จะเป็นจริงได้[ 5]
ในช่วงที่เริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2 การจัดสรรกำลังพลและทรัพยากรได้เน้นความสำคัญไปที่เมืองแม่ของสหราชอาณาจักรและตะวันออกกลางในระดับสูงยิ่ง ความต้องการกำลังอากาศยานจำนวน 300-500 ของกองทัพอากาศมลายาไม่เคยได้รับการตอบสนอง เมื่อกองทัพญี่ปุ่นทำการบุก ฝ่ายญี่ปุ่นมีกำลังรบเป็นรถถังจำนวน 200 กว่าคัน ประกอบด้วยรถถัง "ไทป์ 95 ฮะ-โงะ", "ไทป์ 97 ชิ-ฮะ", "ไทป์ 89 อิ-โงะ" และ "ไทป์ 97 เตะ-เกะ"[ 6] ส่วนกำลังรบของฝ่ายวงไพบูลย์ร่วมของสหราชอาณาจักร (Commonwealth) ประกอบด้วยรถหุ้มเกราะ แลนเชสเตอร์ 6x4 (Lanchester 6x4 Armoured Car), รถหุ้มเกราะ มาร์มอน-เฮอร์ริงตัน (Marmon-Herrington Armoured Car), Universal Carrier และรถถังเบา MK-VI (Light Tank Mk VI) อีกเพียงจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เพียงพอจะใช้ในการทำสงครามยานเกราะ (armoured warfare) ได้[ 7] กองทัพสหราชอาณาจักรมีแผนที่จะชิงทำการบุกภาคใต้ของประเทศไทยก่อนฝ่ายญี่ปุ่นภายใต้ชื่อปฏิบัติการมาทาดอร์ เพื่อยับยั้งการยกพลขึ้นบกของกองทัพญี่ปุ่น แต่ได้ระงับการดำเนินแผนการไป[ต้องการอ้างอิง ]
การรุกของฝ่ายอักษะ
สงครามทางอากาศ
รุกคืบลงใต้สู่คาบสมุทรมลายา
การป้องกันเมืองยะโฮร์
ถอนทัพจากสิงคโปร์
สะพานข้ามทางน้ำในสิงคโปร์ถูกระเบิดทิ้งหลังจากการถอนทัพของฝ่ายสัมพันธมิตร
รายชือยุทธการ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
↑ Frank Owen (2001). The Fall of Singapore . England: Penguin Books. ISBN 0-14-139133-2 .
↑ Altogether Allied forces lost 7,500 killed, 10,000 wounded and about 120,000 captured for the entire Malayan Campaign
↑ Smith, Colin (2006). Singapore Burning . Penguin Books . p. 547 . ISBN 0-141-01036-3 .
↑ Nicholas Rowe , Alistair Irwin (21 September 2009). "Generals At War" . Generals At War . Singapore . 60 นาที. National Geographic Channel . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2009-09-26. สืบค้นเมื่อ 2010-09-20 .
↑ 5.0 5.1 Bayly/Harper, p. 107
↑ Bayly/Harper, p. 110
↑ Klemen, L. "100th Indian Indp. Light Tank Squadron, Malaya 1942" . The Netherlands East Indies 1941–1942 . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2012-12-04. สืบค้นเมื่อ 2012-09-26 .
บรรณานุกรม
Bayly, Christopher / Harper, Tim: Forgotten Armies. Britain's Asian Empire and the War with Japan. Penguin Books, London, 2005
Bose, Romen, "Secrets of the Battlebox: The Role and history of Britain's Command HQ during the Malayan Campaign", Marshall Cavendish, Singapore, 2005
Burton, John (2006). Fortnight of Infamy: The Collapse of Allied Airpower West of Pearl Harbor . US Naval Institute Press. ISBN 978-1-59114-096-2 .
Corfield, Justin & Robin (2012). The Fall of Singapore . Singapore: Talisman Books. ISBN 978-981-07-0984-6 .
Cull, Brian (2004). Hurricanes Over Singapore: RAF, RNZAF and NEI Fighters in Action Against the Japanese over the Island and the Netherlands East Indies, 1942 . London: Grub Street. ISBN 978-1-904010-80-7 .
Cull, Brian (2008). Buffaloes over Singapore: RAF, RAAF, RNZAF and Dutch Brewster Fighters in Action Over Malaya and the East Indies 1941–1942 . London: Grub Street. ISBN 978-1-904010-32-6 .
Dixon, Norman F, On the Psychology of Military Incompetence , London, 1976
Falk, Stanley L. (1975). Seventy days to Singapore: The Malayan Campaign, 1941–1942 . London: Hale. ISBN 978-0-7091-4928-6 .
Kelly, Terence (2008). Hurricanes Versus Zeros: Air Battles over Singapore, Sumatra and Java . Barnsley: Pen and Sword. ISBN 978-1-84415-622-1 .
L., Klemen (1999–2000). "Forgotten Campaign: The Dutch East Indies Campaign 1941–1942" . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2011.
Seki, Eiji. (2006). Mrs. Ferguson's Tea-Set, Japan and the Second World War: The Global Consequences Following Germany's Sinking of the SS Automedon in 1940. London: Global Oriental . ISBN 978-1-905246-28-1 (cloth) [reprinted by University of Hawaii Press , Honolulu, 2007 – UH Press: Books and Journals published by the University of Hawaii Press previously announced as Sinking of the SS Automedon and the Role of the Japanese Navy: A New Interpretation .
Shores, Christopher F; Cull, Brian; Izawa, Yasuho. Bloody Shambles, The First Comprehensive Account of the Air Operations over South-East Asia December 1941 – April 1942 Volume One: Drift to War to the Fall of Singapore . London: Grub Street Press. (1992) ISBN 978-0-948817-50-2
Smith, Colin, Singapore Burning: Heroism and Surrender in World War II , London, 2005.
Smyth, John George Smyth, Percival and the Tragedy of Singapore , MacDonald and Company, 1971.
Thompson, Peter, The Battle for Singapore , London, 2005, ISBN 978-0-7499-5068-2 (HB)
Warren, Alan, Singapore: Britain's Greatest Defeat , Singapore, 2002.
Wigmore, Lionel (1957). "Chapter 8: Invasion of Malaya" . Part II: South–East Asia Conquered . The Japanese Thrust . Australia in the War of 1939–1945. Series 1 – Army. Vol. IV (online, 1st ed.). Canberra, ACT: Australian War Memorial . pp. 137–152. OCLC 464084033 . RCDIG1070203. สืบค้นเมื่อ 3 November 2016 .
Gurcharn Singh Sandhu, The Indian cavalry: history of the Indian Armoured Corps, Volume 2 , Vision Books, 1978 ISBN 978-81-7094-004-3
แหล่งข้อมูลอื่น