ภาษาโฮ (โฮ: Ho, สัทอักษรสากล: [/hoː ʤɐgɐr/], อักษรวรังจิติ: 𑢹𑣉𑣉 𑣎𑣋𑣜) เป็นภาษากลุ่มมุนดาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกที่มีผู้พูดในประเทศอินเดียประมาณ 2.2 ล้านคน (0.202% ของประชากรทั้งหมด) ตามสำมะโน ค.ศ. 2001 ภาษาโฮเป็นภาษาชนเผ่า[3] พูดโดยชุมชนเผ่าโฮ, มุุนดา, Kolha และ Kol ในรัฐโอฑิศา[4] รัฐฌารขัณฑ์ รัฐพิหาร รัฐฉัตตีสครห์ รัฐเบงกอลตะวันตก รัฐอัสสัม และเขียนด้วยอักษรวรังจิติ บางครั้งก็ใช้อักษรเทวนาครี อักษรละติน อักษรโอริยา และอักษรเตลูกู[5] แม้ว่าผู้พูดภาษาแม่นิยมใช้อักษรโฮของตนเองมากกว่า[6]
คำว่า "โฮ" มาจากศัพท์ภาษาแม่ว่า "𑣙𑣉𑣉" ซึ่งหมายถึง "มนุษย์"[7]
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
ระดับสหภาพ | |
---|
ตามรัฐธรรมนูญอินเดีย | |
---|
ระดับรัฐ | |
---|