กลุ่มภาษามอญ (Monic languages) เป็นกลุ่มภาษาหนึ่งของตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก เป็นกลุ่มภาษาที่มีการใช้งานมาแต่ครั้งโบราณในเขตประเทศไทยและแถบพม่าตอนล่าง[2][3]
การจำแนกประเภท
พอล ซิดเวลล์ (2009:114) เสนอแผนภูมิสำหรับกลุ่มภาษามอญ โดยรวมการจำแนกกลุ่มในอดีตจาก ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ (1984) และ เฌราร์ ดิฟโฟลธ (1984)[4][5][3]
- มอญเก่า / มอญดั้งเดิม
- ญัฮกุร
- มอญกลาง
- วรรณกรรมมอญ
- มอญโร (Mon Ro): ภาษาถิ่นเหนือสุด พูดในพื้นที่ หงสาวดี-ปอง-ซี่นไจ
- มอญราว (Mon Rao) : พูดในพื้นที่ มอละมไยน์ ทอดยาวไปทางใต้หลายร้อยกิโลเมตรถึง ทวาย
- มอญราวเหนือ
- กะมาแวะ
- มอญราวใต้
- เย่ มอญราว: ชาติพันธุ์มอญใต้สุด
- ไทยมอญ (ผสมผสานมอญโรและมอญราว)
ภาษาดั้งเดิม
ตัวอย่างชื่อสัตว์และพืชใน กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม, ญัฮกุรดั้งเดิม, และมอญดั้งเดิม (ดิฟโฟลธ 1984)[5]
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
สัตว์ปีก
สัตว์อื่น ๆ
สายพันธุ์ |
กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม |
ญัฮกุรดั้งเดิม |
มอญดั้งเดิม
|
แมลงสาบ |
*sdɛɛʔ |
*ɕətɛ̤ɛʔ |
*həte̤ʔ
|
ผึ้งหลวง |
*saaj |
*ɕa̱aj |
*sa̱i̯
|
ตะพาบสวน |
*dwiiʔ |
*[c/t]həwi̤iʔ |
*kwi̤ʔ
|
ปลาไหลนา |
*doŋ-nooŋ |
*kənto̤oŋ ~ *tṳŋ-to̤oŋ |
*hələ̤ɨ̯ŋ
|
ปลาช่อน |
*knlɔɔn |
*kənlu̱an |
*kəno̤n
|
ตะกวดใต้ |
*trkɔɔt |
*təku̱at |
*həko̱t
|
พืช
นวัตกรรมคำศัพท์
ตัวอย่างนวัตกรรมคำศัพท์กลุ่มภาษามอญ:[4]
คำ |
ออสโตรเอเชียติกดั้งเดิม |
กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม |
มอญเก่า |
ญัฮกุร
|
‘เข่า’ |
*psaɲ |
*ɟroːm |
– |
chròːm
|
‘เงิน’ |
*swaːʔ |
*knuːj |
knuj |
khǝnúːj
|
‘ไก่’ |
*ʔiər |
*tjaːŋ |
tyaiŋ |
cháːŋ
|
‘หมา’ |
*cɔːʔ |
*clur |
kløw |
chúr
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
อ่านเพิ่ม
- Series: Monic language studies. (1984). Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University Printing House.
- Diffloth, Gérard. 1984 The Dvaravati Old Mon languages and Nyah Kur. Monic Language Studies. Chulalongkorn University Printing House, Bangkok.
- Eppele, John William, Carey Statezni, and Nathan Statezni. 2008. Monic bibliography เก็บถาวร 7 มิถุนายน 2021 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Chiang Mai: Payap University.
- Ferlus, Michel. 1983. Essai de phonétique historique de môn. Mon-Khmer Studies 12: 1–90.
- Huffman, Franklin E. 1990. Burmese Mon, Thai Mon, and Nyah Kur: a synchronic comparison. Mon-Khmer Studies 16–17: 31–84.
แหล่งข้อมูลอื่น