จังหวัดอุตรดิตถ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุตรดิตถ์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายฟัก ณ สงขลา
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 6 สมัย ได้แก่ นายกนก ลิ้มตระกูล
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้ง |
แผนที่ |
จำนวน ส.ส.
|
พ.ศ. 2476 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
1 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2480
|
พ.ศ. 2481
|
พ.ศ. 2489
|
พ.ศ. 2491
|
พ.ศ. 2492
|
พ.ศ. 2495
|
พ.ศ. 2500/1 |
2 คน (เขตละ 2 คน)
|
พ.ศ. 2500/2
|
พ.ศ. 2512
|
พ.ศ. 2518 |
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2519
|
พ.ศ. 2522
|
พ.ศ. 2526
|
พ.ศ. 2529
|
พ.ศ. 2531
|
พ.ศ. 2535/1
|
พ.ศ. 2535/2
|
พ.ศ. 2538
|
พ.ศ. 2539
|
พ.ศ. 2544 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า, อำเภอบ้านโคก และอำเภอพิชัย (เฉพาะตำบลนายางและตำบลนาอิน) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย (ยกเว้นตำบลนายางและตำบลนาอิน) |
|
3 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2548
|
พ.ศ. 2549
|
พ.ศ. 2550 |
เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด |
|
3 คน (เขตละ 3 คน)
|
พ.ศ. 2554 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า และอำเภอบ้านโคก · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย |
|
3 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2557
|
พ.ศ. 2562 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์, อำเภอลับแล และอำเภอตรอน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพิชัย, อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า และอำเภอบ้านโคก |
|
2 คน (เขตละ 1 คน)
|
พ.ศ. 2566 |
· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอทองแสนขัน, อำเภอท่าปลา, อำเภอน้ำปาด, อำเภอฟากท่า, อำเภอบ้านโคก และอำเภอพิชัย (เฉพาะตำบลนายางและตำบลนาอิน) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลับแล, อำเภอตรอน และอำเภอพิชัย (ยกเว้นตำบลนายางและตำบลนาอิน) |
|
3 คน (เขตละ 1 คน)
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคสหชีพ
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคชาตินิยม
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 11–20; พ.ศ. 2518–2539
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย → พรรคสยามใหม่
- พรรคสยามใหม่
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคสยามปฏิรูป
- พรรคชาติประชาชน
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคกิจประชาคม
- พรรคราษฎร
- พรรคปวงชนชาวไทย
- พรรคชาติพัฒนา
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคประชากรไทย
- พรรคประชากรไทย → พรรคเสรีธรรม
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคชาติพัฒนา → พรรคไทยรักไทย
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคพลังประชาชน → พรรคเพื่อไทย
- พรรคพลังประชาชน → พรรคกิจสังคม
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคเพื่อไทย → พรรคเพื่อชาติ
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | คมนาคม | |
---|
การท่องเที่ยว | |
---|
ธุรกิจ | |
---|
|
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
การทหาร | |
---|
เหตุการณ์ | |
---|
|
---|
|