สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน อยู่ในตำแหน่ง 5 ปี (ตามกฎหมายกำหนด)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2501 ได้พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ที่ต้องออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2501 เนื่องจากมีผู้จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาเกินกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งใน 5 จังหวัด[1] จึงให้มีการเลือกตั้งเพิ่มเติม เป็นแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 186 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 97 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค (ประเภทที่ 1)
พรรค |
แบ่งเขต (ณ วันสิ้นสุดอายุของสภาฯ) |
รวม
|
พระนคร |
ธนบุรี |
กลาง |
เหนือ |
อีสาน |
ใต้ |
ตะวันออก |
ตะวันตก
|
ไม่สังกัดพรรค |
1 |
- |
15 |
7 |
22 |
7 |
6 |
3 |
61
|
ชาติสังคม |
- |
- |
16 |
3 |
28 |
7 |
2 |
3 |
59
|
ประชาธิปัตย์ |
17 |
6 |
4 |
10 |
4 |
8 |
1 |
2 |
52
|
เศรษฐกร |
- |
- |
- |
- |
6 |
- |
- |
- |
6
|
เสรีประชาธิปไตย |
- |
- |
- |
- |
5 |
- |
- |
- |
5
|
ชาตินิยม |
- |
- |
- |
1 |
- |
- |
- |
- |
1
|
ขบวนการไฮด์ปาร์ค |
- |
- |
- |
- |
1 |
- |
- |
- |
1
|
อิสระ |
- |
- |
- |
- |
1 |
- |
- |
- |
1
|
รวม |
18 |
6 |
35 |
21 |
67 |
22 |
9 |
8 |
186
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ประเภทที่ 1
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง
|
มีรายนามดังนี้[2]
พระนคร
ธนบุรี
ภาคกลาง
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันตก
ประเภทที่ 2
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง
|
การเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2501
ผลการเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2501[3]
พระนคร
ธนบุรี
กาฬสินธุ์
ร้อยเอ็ด
อุบลราชธานี
ผู้ดำรงตำแหน่ง
ประธานสภาผู้แทนราษฎรอาวุโส หลวงศรีสาลีพิช
ประธานสภาผู้แทนราษฎร พลเอกพระประจนปัจจนึก
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง ขุนวิวรณ์สุขวิทยา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง ประสิทธิ์ จุลละเกศ
การเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น