จังหวัดชุมพร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดชุมพรมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงสโมสรราชกิจ (คอยู่จีน ณ ระนอง)
เขตเลือกตั้ง
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหประชาไทย
ชุดที่ 11–16; พ.ศ. 2518–2531
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- พรรคกิจประชาคม → พรรคเอกภาพ
- พรรคประชาชน → พรรคชาติไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
- พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรครวมพลังประชาชาติไทย → พรรครวมพลัง
- พรรครวมไทยสร้างชาติ
รูปภาพ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในปัจจุบัน | |
---|
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย แบ่งตามจังหวัดในอดีต | |
---|
|
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
กีฬา | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|