ชั้นยศ-ชื่อ-นามสกุล |
สังกัด |
วันที่ประกาศ ชื่อผู้รับพระราชทาน |
ปฏิบัติการครั้งที่ได้รับพระราชทาน |
หมายเหตุ |
อ้างอิง
|
- ร้อยโท พีรพล โชติช่วง
- สิบตรี สติม กะสวยทอง
- พลทหาร ชุมพล สีทา
|
กองทัพบก |
25 ก.ค. 2494 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[7]
|
- พันตรี จำเนียร พงศ์ไพโรจน์
- ร้อยโท เรือ สุมะโน
- ร้อยโท จำเนียร มีสง่า
- จ่าสิบเอก ยอดชาย มัจฉากร่ำ
- สิบตรี ผิน มาลีเนตร
|
กองทัพบก |
11 ก.ย. 2494 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[8]
|
สิบตรี ประเสริฐ รักษ์จันทร์ |
กองทัพบก |
1 เม.ย. 2495 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[9]
|
พันโท อ่อง โพธิกนิษฐ |
กองทัพบก |
2 เม.ย. 2496 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[10]
|
- ร้อยโท เฉลิม ศิริบุญ
- สิบเอก ธรรมนูญ สมหวัง
|
กองทัพบก |
2 ต.ค. 2496 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[11]
|
ร้อยตรี วิเชียร กาญจนะวงศ์ |
กองทัพบก |
27 พ.ย. 2496 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[12]
|
- ร้อยโท วิเชียร สังขไพรวัน
- จ่าสิบเอก นพ วิบูลย์พาชย์
- สิบโท ทองอยู่ โฉมสิริ
- สิบตรี โชติ สรรค์ประเสริฐ
- พลทหาร จือรักษ์ กิจประชุม
|
กองทัพบก |
11 พ.ค. 2497 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[13]
|
ร้อยเอก ประเสริฐ สิงหกุล |
กองทัพบก |
18 ก.ย. 2497 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[14]
|
พันโท ผาติ ยศไกร |
กองทัพบก |
20 ต.ค. 2497 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[15]
|
- พันตรี จวน วรรณรัตน์
- ร้อยเอก อรรคพล สมรูป
- สิบตรี สงวน ศรีเรืองสิน
- พลทหาร ทองเจือ ฉายปัญญา
|
กองทัพบก |
6 เม.ย. 2498 |
การร่วมรบกับทหารสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี |
|
[16]
|
- พลตรี สุจิณณ์ มงคลคำนวณเขตต์
- พันเอก สุพร สิทธิมงคล
- พันโท คำรณ เหมนิธิ
- พันตรี ณรงค์ กิตติขจร
- พันตรี ยุทธนา แย้มพันธ์
- ร้อยเอก วัฒนา สรรพานิช
- ร้อยเอก วิชัย ขันติรัตน์
- ร้อยเอก ประสิทธิ์ โยธีพิทักษ์
- ร้อยเอก วิรัช แตงน้อย
- ร้อยเอก สมพงษ์ โกมลวิภาต
- ร้อยเอก อรุณ อุ่นเจริญ
- ร้อยโท กัมพล ผลผดุง
- ร้อยโท สมพล ชุณหะนันทน์
- ร้อยโท ประเวทย์ ทองสุข
- ร้อยโท อำนาจ เรืองคุณะ
- ร้อยโท พนัส สัตย์เจริญ
- จ่าสิบเอก แดงต้อย สำราญเริง
- จ่าสิบเอก สงัด ไทยรัฐเทวินทร์
- จ่าสิบเอก ประยูร พุฒจรูญ
- สิบเอก แสวง พรสวัสดิ์
- สิบเอก สำราญ มีจ่าย
- สิบเอก สมมาตย์ น้อยพยัคฆ์
- สิบเอก วิชัย นุชรักษา
- สิบเอก เกษนันท์ สระทองเอื้อ
- สิบเอก ไสว บุญทับ
- สิบเอก สุนทร พัดสงค์
- สิบตรี สุวิรัช ประทีปช่วง
- สิบตรี สุวิรัช ประทีปช่วง
- พลทหาร สุคนธ์ ประวัติ
|
กองทัพบก |
8 มี.ค. 2512 |
ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม |
|
[17]
|
เรืออากาศโท อนาวิล ภักดีจิตต์ |
กองทัพอากาศ |
8 มี.ค. 2512 |
ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม |
|
[17]
|
พันตรี บุญเชาว์ เล็กชะอุ่ม |
กองทัพบก |
8 มี.ค. 2512 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[17]
|
จอมพล ถนอม กิตติขจร |
กองทัพบก |
12 มิ.ย. 2515 |
ปฏิบัติหน้าที่ในการสู้รบกับอริราชศัตรูด้วยความเสียสละ เสี่ยงอันตรายต่อชีวิตด้วยความองอาจกล้าหาญ ทั้งในราชการสงครามและในภาวะฉุกเฉิน เป็นเวลาหลายครั้งหลายคราว |
พระราชทานเหรียญกล้าหาญ ประดับช่อชัยพฤกษ์ |
[18]
|
พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์
|
กองทัพอากาศ |
30 เม.ย. 2516 |
การเจรจาและนำกลุ่มโจรปาเลสไตน์ที่ยึดสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2515 เดินทางออกไปนอกประเทศได้เป็นผลสำเร็จ |
|
[19]
|
พลจัตวา ชาติชาย ชุณหะวัณ
|
กองทัพบก
|
30 เม.ย. 2516
|
การเจรจาและนำกลุ่มโจรปาเลสไตน์ที่ยึดสถานเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2515 เดินทางออกไปนอกประเทศได้เป็นผลสำเร็จ
|
|
[19]
|
- พันเอก ไชยยง โพธิ์อุไร
- พันตรี ชูชาติ วณีสอน
- ร้อยเอก สุธี เสลา
- ร้อยเอก พงษ์เทพ เทศประทีป
- ร้อยเอก ไพบูลย์ จึงสำราญ
- ร้อยโท ทองชุบ แก้วมีศรี
- ร้อยโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช
- ร้อยโท สมศักดิ์ สิงห์ห่วง
- ร้อยโท กำพล แจ่มมิน
- ร้อยตรี ประยุทธ มีสิน
- จ่าสิบเอก ศักดิ์ครินทร์ อินทุภูติ
- จ่าสิบตรี ประสาน กิตติรัตน์
- จ่าสิบตรี ยงยุทธ ยอดยิ่ง
- จ่าสิบตรี ถมปัทม์ คมขำ
|
กองทัพบก |
17 ก.ย. 2519 |
ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ |
|
[20]
|
- พันตำรวจเอก รัตน์ พรหมโมบล
- พันตำรวจโท วิจัย สวัสดิ์เกียรติ
- พันตำรวจตรี เสนาะ บำรุงเทียน
- ร้อยตำรวจเอก ไพรินทร์ บุญยะผลึก
|
กรมตำรวจ |
17 ก.ย. 2519 |
ปฏิบัติการรบอย่างกล้าหาญ |
|
[20]
|
- พันตรี สว่าง โสภณ
- ร้อยเอก สนธิ เมียนกำเนิด
- ร้อยเอก ทวี เชื่อหน่าย
- จ่าสิบเอก ทองสุข เจริญขำ
- พลทหาร หิน แสงนอก
|
กองทัพบก |
17 ก.ย. 2520 |
ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม |
|
[21]
|
พันตรี วีระ วะนะสุข |
กองทัพบก |
17 ก.ย. 2520 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[21]
|
- พันตรี หาญ เพไทย
- จ่าสิบเอก ชาญณรงค์ เทวายะนะ
- พลทหาร เฉลิม น้อยราช
- พลทหาร ชัด ณ ทองก้อน
|
กองทัพบก |
20 มี.ค. 2521 |
ราชการสงคราม ณ สาธารณรัฐเวียดนาม |
|
[22]
|
- จ่าสิบเอก ยิ่งยศ ศรีเจริญ
- จ่าสิบเอก สนั่น ราชมุณีสุข
|
กองทัพบก |
20 มี.ค. 2521 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[22]
|
ร้อยตรี บุญเหลือ ทองคัณฑา |
กองทัพบก |
28 พ.ค. 2524 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[23]
|
- นาวาอากาศเอก เฉลิม เอี่ยมแจ้งพันธ์
- นาวาอากาศโท ชาญชัย มหากาญจน์
- นาวาอากาศโท สัมฤทธิ์ มั่งมี
|
กองทัพอากาศ |
28 พ.ค. 2524 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[23]
|
พลเอก อิทธิ สิมารักษ์ |
กองทัพบก |
12 ก.พ. 2525 |
การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม |
|
[24]
|
นาวาอากาศโท สนั่น มณีกุล
|
กองทัพอากาศ |
12 ก.พ. 2525 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[24]
|
สิบเอก บุญเลิศ เพ็ชรมี
|
กองทัพบก
|
12 ก.พ. 2525
|
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
|
|
[24]
|
- พลอากาศโท วันชัย พิไลพงศ์
- นาวาอากาศตรี สุรัตน์ สุวรรณประเสริฐ
- เรืออากาศเอก ปิยะพงษ์ อุทัยพงษ์
- จ่าอากาศเอก อนันต์ นิลสุ
- จ่าอากาศเอก พงศ์เทพ พันธ์ประสิทธิ์
|
กองทัพอากาศ |
12 ก.พ. 2525 |
การปราบปรามโจรจี้เครื่องบินของสายการบินการูดาแห่งอินโดนีเซียที่สนามบินดอนเมือง |
|
[24]
|
ร้อยตรี สนิท เพ็งเจริญ |
กองทัพบก |
13 ก.ย. 2525 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[25]
|
- เรืออากาศเอก ชาญชัย วิมุกตะลพ
- เรืออากาศโท อรณพ เมนะรุจิ
- พันจ่าอากาศเอก วรวุฒิ เสมาเงิน
- จ่าอากาศเอก อำนาจ เหล็งบำรุง
|
กองทัพอากาศ |
1 พ.ค. 2528 |
ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด |
|
[26]
|
- พันตรี ทวีป เก็บเงิน
- ร้อยตรี สุระศักดิ์ โกศินานนท์
|
กองทัพบก |
25 มิ.ย. 2528 |
การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[27]
|
- พันตรี อัคพล จิตระพรหมา
- ร้อยเอก สุรเทพ ชลายนนาวิน
- ร้อยตรี สมชาย แวงวงษ์
|
กองทัพบก |
25 มิ.ย. 2528 |
การทำลายแหล่งผลิตยาเสพติด |
|
[27]
|
- นาวาอากาศตรี อาคม กาญจนหิรัญ
- เรืออากาศตรี วศิน อู่ศิริ
|
กองทัพอากาศ |
22 ต.ค. 2528 |
ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ |
|
[28]
|
- นาวาอากาศเอก ประพัฒน์ วีณะคุปต์
- นาวาอากาศตรี วัฒนา ลับไพรี
|
กองทัพอากาศ |
25 มิ.ย. 2529 |
ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยอย่างกล้าหาญ |
|
[29]
|
พันเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร |
กองทัพบก |
14 ม.ค. 2530 |
การสู้รบกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ |
|
[30]
|
- ร้อยเอก วัฒนชัย คุ้มครอง
- ร้อยโท สุรสิทธิ์ ประกอบสุข
- ร้อยโท สุพจน์ มาลานิยม
- จ่าสิบเอก อัฏฐมิพล สรรพอาสา
|
กองทัพบก |
10 ก.พ. 2530 |
การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก |
|
[31]
|
นาวาอากาศตรี สุรศักดิ์ บุญเปรมปรีดิ์ |
กองทัพอากาศ |
10 ก.พ. 2530 |
การผลักดันกองกำลังทหารต่างชาติ ณ บ้านร่มเกล้า อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก |
|
[31]
|
นาวาอากาศตรี ชวินทร์ วงศ์ทองสงวน |
กองทัพอากาศ |
16 มิ.ย. 2531 |
กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ |
|
[32]
|
นาวาอากาศตรี เจริญ บำรุงบุญ |
กองทัพอากาศ |
16 มิ.ย. 2531 |
กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ |
|
[32]
|
นาวาอากาศตรี สุรศักดิ์ บุญเปรมปรีดิ์ |
กองทัพอากาศ |
16 มิ.ย. 2531 |
กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญกับราชศัตรู และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ |
พระราชทานช่อชัยพฤกษ์ ประดับแพรแถบเหรียญกล้าหาญ |
[32]
|
- นาวาอากาศโท สมนึก เยี่ยมสถาน
- นาวาอากาศตรี ธีรพงษ์ วรรณสำเริง
- เรืออากาศเอก ไพโรจน์ เป้าประยูร
- เรืออากาศโท ณฤทธิ์ สุดใจธรรม
|
กองทัพอากาศ |
10 ก.พ. 2532 |
กระทำการสู้รบอย่างกล้าหาญเพื่อป้องกันอธิปไตย และได้ผลสมความมุ่งหมายของทางราชการ |
|
[33]
|
พลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี |
กองทัพบก |
12 มี.ค. 2534 |
ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยด้วยความกล้าหาญเป็นพิเศษอย่างยิ่งยวด โดยยอมเอาชีวิตเข้าแลกเพื่อกระทำการให้สำเร็จสมความมุ่งหมายของทางราชการ |
|
[34]
|
เรือเอก ประทีป อนุมณี |
กองทัพเรือ |
29 ก.ค. 2543 |
ต่อสู้โจรก่อการร้ายในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสจนได้รับบาดเจ็บสาหัส |
|
[35]
|
จ่าสิบเอก สวงค์ อิ่มแล่ม |
กองทัพบก |
29 ก.ค. 2543 |
ปฏิบัติหน้าที่กรณีกองกำลังไม่ทราบฝ่ายรุกล้ำอธิปไตยในพื้นที่จังหวัดตากจนเสียชีวิต |
พระราชทานแก่นางสาวจิรภา อิ่มแล่ม ทายาทของจ่าสิบเอก สวงค์ อิ่มแล่ม |
[35]
|
- สิบโท วิรุณ รมวิเชียร
- สิบตรี มาโนชญ์ หนูคงใหม่
|
กองทัพบก |
1 ก.ย. 2552 |
ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2549 จนได้รับบาดเจ็บสาหัส |
|
[36]
|
พันเอก อุทัย ทองไฝ |
กองทัพบก |
1 ก.ย. 2552 |
ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 8 พ.ย. 2549 จนเสียชีวิต |
พระราชทานแก่นายธัญญากรณ์ ทองไฝ ทายาทของพันเอก อุทัย ทองไฝ |
[36]
|
ร้อยตรี อนันต์ คงเลิศ |
กองทัพบก |
1 ก.ย. 2552 |
ต่อสู้กับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2549 จนเสียชีวิต |
พระราชทานแก่เด็กชายสมโภชน์ คงเลิศ ทายาทของร้อยตรี อนันต์ คงเลิศ |
[36]
|
พลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา |
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
13 มี.ค. 2556 |
ถูกกลุ่มคนร้ายลอบวางระเบิดเสียชีวิตขณะสืบสวนหาข่าวในพื้นที่รับผิดชอบ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2553 |
อดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา, พระราชทานแก่สิบตำรวจเอก โรจนินทร์ ภูวพงษ์พิทักษ์ ทายาทของพลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา |
[37]
|
พันตรี สมศักดิ์ เขียนวงศ์ |
กองทัพบก |
10 พ.ค. 2559 |
เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่โดยการปะทะกับกลุ่มผู้ก่อเหตุความรุนแรงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ขณะทำการลาดตระเวนในพื้นที่บ้านบาโงปูโล๊ะ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2550 |
อดีตเสมียนยุทธการ สังกัดกองร้อยลาดตระเวนระยะไกล กองพลทหารม้าที่ 1, พระราชทานแก่ เด็กชายจิรพงศ์ เขียนวงศ์ ทายาทของพันตรีสมศักดิ์ เขียนวงศ์ |
[38]
|