จิกเล
|
|
ดอกและใบที่ประเทศบังกลาเทศ
|
สถานะการอนุรักษ์
|
|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
|
อาณาจักร:
|
พืช
|
เคลด:
|
พืชมีท่อลำเลียง
|
เคลด:
|
พืชดอก
|
เคลด:
|
พืชใบเลี้ยงคู่แท้
|
เคลด:
|
แอสเทอริด
|
อันดับ:
|
อันดับกุหลาบป่า
|
วงศ์:
|
วงศ์จิก
|
สกุล:
|
จิก
(L.) Kurz[2]
|
สปีชีส์:
|
Barringtonia asiatica
|
ชื่อทวินาม
|
Barringtonia asiatica (L.) Kurz[2]
|
ชื่อพ้อง[3]
|
- Agasta asiatica (L.) Miers
- Agasta indica Miers
- Agasta splendida Miers
- Barringtonia butonica J.R.Forst. & G.Forst.
- Barringtonia levequii Jard. [Invalid]
- Barringtonia littorea Oken [Illegitimate]
- Barringtonia senequei Jard.
- Barringtonia speciosa J.R.Forst. & G.Forst.
- Barringtonia speciosa L. f.
- Butonica speciosa (J.R.Forst. & G.Forst.) Lam.
- Huttum speciosum (J.R.Forst. & G.Forst.) Britten
- Mammea asiatica L. Sy
- Michelia asiatica (L.) Kuntze
- Mitraria commersonia J.F.Gmel.
|
จิกเล หรือ จิกทะเล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barringtonia asiatica; อังกฤษ: fish poison tree,[4][5] putat,[4] sea poison tree)[4] เป็นสายพันธุ์ของ Barringtonia พื้นเมืองที่อยู่อาศัยป่าชายเลนบนชายฝั่งในเขตร้อนชื้นและหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จากแซนซิบาร์ทางทิศตะวันออกไปจนถึงไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ฟีจี, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะคุก, วาลิสและฟูตูนา และเฟรนช์โปลินีเซีย มักปลูกตามถนนเพื่อการตกแต่งและร่มเงาในบางส่วนของอินเดีย
จิกเลเป็นต้นไม้ใหญ่ สูงราว 20 เมตร ใบขนาดใหญ่ มันวาว มีความหนา ป้องกันการสูญเสียน้ำ ดอกขนาดใหญ่ สีขาว เกสรตัวผู้เป็นพู่ยาวเห็นได้ชัดเจน สีขาว ปลายชมพู ดอกมีกลิ่นหอมแรง บานตอนค่ำและโรยตอนเช้า ผสมเกสรด้วยผีเสื้อกลางคืนและค้างคาว ผลขนาดใหญ่ ทรงคล้ายลูกข่าง มีกากเหนียวหุ้มทำให้ลอยน้ำได้ดีคล้ายผลมะพร้าว[6]
ในเมล็ดและลำต้นมีสารซาโปนิน ใช้ทำยาเบื่อปลาและยานอนหลับ[4]
สัญลักษณ์
จิกเลเป็นทั้งพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดสมุทรสงคราม
ภาพ
| ผลที่ยังไม่แก่ (ขนาดประมาณกำปั้น) |
| ดอก |
|
อ้างอิง
- ↑ Razafiniary, V. (2021). "Barringtonia asiatica". IUCN Red List of Threatened Species. 2021: e.T31339A166509744. doi:10.2305/IUCN.UK.2021-1.RLTS.T31339A166509744.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
- ↑ Under its treatment as Barringtonia asiatica (from its basionym Mammea asiatica L.), this species was published in Preliminary Report on the Forest and other Vegetation of Pegu App. A: 65. 1875. "Name - Barringtonia asiatica (L.) Kurz". Tropicos. Saint Louis, Missouri: Missouri Botanical Garden. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
- ↑ "Barringtonia asiatica (L.) Kurz". World Checklist of Selected Plant Families (WCSP). Royal Botanic Gardens, Kew. สืบค้นเมื่อ 23 Mar 2016 – โดยทาง The Plant List.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 Ria Tan (2001). "Sea Poison Tree". Mangrove and wetland wildlife at Sungei Buloh Nature Park. Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-02. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
- ↑ GRIN (October 1, 2010). "Barringtonia asiatica information from NPGS/GRIN". Taxonomy for Plants. National Germplasm Resources Laboratory, Beltsville, Maryland: USDA, ARS, National Genetic Resources Program. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-05. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
- ↑ Tsou, C-H., and Mori, S.A. "Seed coat anatomy and its relationship to seed dispersal in subfamily Lecythidoideae of the Lecythidaceae (The Brazil Nut Family)." Botanical Bulletin of Academia Sinica. Vol. 43, 37-56. 2002. Accessed 2009-05-31.
|
---|
Barringtonia asiatica | |
---|
Mammea asiatica | |
---|