อปริเคราะห์ (สันสกฤต: अपरिग्रह) หรือ อปริครหะ[1] ในศาสนาฮินดูและศาสนาเชน เป็นคุณธรรมในการไม่ครอบครอง การไม่ลักขโมย และไม่โลภ[2]อปริเคราะห์ ตรงข้ามกับ ปริเคราะห์ หลักของอปริฤห์ให้คงความอยากที่จะครอบครองและเสาะหาในสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญ ขึ้นอยู่กับบริบทหรือช่วงชีวิตของบุคคล อปริคฤห์ยังมุ่งเน้นการควบคุมความอยากและความโลภที่จะได้รับสิ่งหนึ่งหรือประโยชน์ของตนมาโดยการที่ต้องทำร้ายหรือ้บียดเบียนผู้อื่น ในศาสนาเชนนั้นอาจรวมถึงการที่ต้องทำร้ายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ทุกชนิด[3]
อปริคฤห์เกี่ยวข้องกับ "ทาน" (dāna) ทั้งในมุมมองของผู้ให้และผู้รับ[4][5]
อ้างอิง
- ↑ http://sameaf.mfa.go.th/th/country/south-asia/tips_detail.php?ID=4396&SECTION=40
- ↑ Arti Dhand (2002), The dharma of ethics, the ethics of dharma: Quizzing the ideals of Hinduism, Journal of Religious Ethics, 30(3), pages 347-372
- ↑ Sharon Lauricella (2013), Judging by the way animals are treated: Gandhi as a manifestation of Patanjali’s Yoga Sutras, Gandhi Marg Quarterly, 35(4): 655–674
- ↑ SC Jain (2012), Spiritual Guidance in Achieving and Sustaining Organizational Excellence, Purushartha: A Journal of Management Ethics and Spirituality, 4(2): 1-16
- ↑ N Kazanas (2013), Vedic Tradition and Civilization, in On India: Self-Image and Counter-image (Editor: AN Balslev), SAGE Publications, ISBN 978-8132110927, pages 27-41