รายชื่อประธานวุฒิสภาไทย

ประธานวุฒิสภา
แห่งราชอาณาจักรไทย
ตราของรัฐสภาไทย
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
มงคล สุระสัจจะ
ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
วุฒิสภา
สำนักงานประธานวุฒิสภา
การเรียกขานท่านประธานที่เคารพ
สมาชิกของรัฐสภาไทย
วุฒิสภา
ที่ว่าการสัปปายะสภาสถาน
ผู้เสนอชื่อการลงมติจากวุฒิสภา
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตามวาระของวุฒิสภา
ตราสารจัดตั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
ผู้ประเดิมตำแหน่งวิลาศ โอสถานนท์
ในฐานะ ประธานพฤฒสภา
สถาปนา4 มิถุนายน พ.ศ. 2489; 78 ปีก่อน (2489-06-04)
รองรองประธานวุฒิสภา
เงินตอบแทน45,500 บาท
(รวมกับเงินเดือนประจำตำแหน่งอีก 74,420 บาท [1])

ประธานวุฒิสภาไทย เป็นตำแหน่งประมุขของวุฒิสภา หรือสภาสูงของไทย ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทย หรือสภาล่าง มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและรับรองบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

วุฒิสภาไทย มีบัญญัติครั้งแรกไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 ใช้ชื่อว่า พฤฒสภา ต่อมาใช้ชื่อเรียกว่า วุฒิสภา[2] แต่เดิมสมาชิกวุฒิสภาไทยมาจากการแต่งตั้ง สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงมีระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 สำหรับรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน กำหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการคัดสรรโดยองค์กรวิชาชีพ โดยในวาระ 5 ปีแรกนับตั้งแต่วันที่รัฐธรรมนูญมีผลบังคับใช้ สมาชิกวุฒิสภาจะมาจากการสรรหาโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

รายนามประธานวุฒิสภาไทย

ประธานพฤฒสภา (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2490)

ลำดับ รูป รายนาม เริ่ม สิ้นสุด หมายเหตุ
1 วิลาศ โอสถานนท์ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2489 24 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ประธานรัฐสภา
2
(1,2)
พระยาศรยุทธเสนี 31 สิงหาคม พ.ศ. 2489 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ประธานรัฐสภา
15 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490

ประธานวุฒิสภา (พ.ศ. 2490 – ปัจจุบัน)

ลำดับ รูป รายนาม เริ่ม สิ้นสุด หมายเหตุ
3
(1-4)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 ประธานรัฐสภา
20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 14 มิถุนายน พ.ศ. 2492
15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
4
(1,2)
นายวรการบัญชา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 ประธานรัฐสภา
7 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
5 จิตติ ติงศภัทิย์ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 รองประธานรัฐสภา
6 หะริน หงสกุล 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 19 มีนาคม พ.ศ. 2526 ประธานรัฐสภา
7 จารุบุตร เรืองสุวรรณ 26 เมษายน พ.ศ. 2526 19 มีนาคม พ.ศ. 2527 ประธานรัฐสภา
8
(1-3)
อุกฤษ มงคลนาวิน 30 เมษายน พ.ศ. 2527 30 เมษายน พ.ศ. 2528 ประธานรัฐสภา
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 23 เมษายน พ.ศ. 2530
28 เมษายน พ.ศ. 2530 21 เมษายน พ.ศ. 2532
9 วรรณ ชันซื่อ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ประธานรัฐสภา
8
(4)
อุกฤษ มงคลนาวิน 3 เมษายน พ.ศ. 2535 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ประธานรัฐสภา
10
(1,2)
มีชัย ฤชุพันธุ์ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2535 21 มีนาคม พ.ศ. 2539 ประธานรัฐสภา
6 เมษายน พ.ศ. 2539 21 มีนาคม พ.ศ. 2543 รองประธานรัฐสภา
11 สนิท วรปัญญา 4 สิงหาคม พ.ศ. 2543 13 มีนาคม พ.ศ. 2544 รองประธานรัฐสภา
12 มนูญกฤต รูปขจร 8 เมษายน พ.ศ. 2544 4 มกราคม พ.ศ. 2547 รองประธานรัฐสภา
13 สุชน ชาลีเครือ 5 มีนาคม พ.ศ. 2547 18 กันยายน พ.ศ. 2549 รองประธานรัฐสภา
14 ประสพสุข บุญเดช 18 มีนาคม พ.ศ. 2551 12 เมษายน พ.ศ. 2554 รองประธานรัฐสภา
15 ธีรเดช มีเพียร 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 รองประธานรัฐสภา
16 นิคม ไวยรัชพานิช 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557[3] รองประธานรัฐสภา
- สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 รักษาการประธานวุฒิสภา
17 พรเพชร วิชิตชลชัย 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 รองประธานรัฐสภา
18 มงคล สุระสัจจะ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 อยู่ในวาระ รองประธานรัฐสภา

อดีตประธานวุฒิสภาไทยที่ยังมีชีวิตอยู่

รายนาม วาระ วันเกิด
อุกฤษ มงคลนาวิน 2535 10 มีนาคม พ.ศ. 2476 (91 ปี)
มนูญกฤต รูปขจร 2544–2547 15 ธันวาคม พ.ศ. 2478 (89 ปี)
มีชัย ฤชุพันธุ์ 2535–2543 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 (86 ปี)
ธีรเดช มีเพียร 2554–2555 21 มีนาคม พ.ศ. 2482 (85 ปี)
สนิท วรปัญญา 2543–2544 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482 (85 ปี)
สุชน ชาลีเครือ 2547–2549 12 มีนาคม พ.ศ. 2495 (72 ปี)
ประสพสุข บุญเดช 2551–2554 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (79 ปี)
นิคม ไวยรัชพานิช 2555–2557 4 ตุลาคม พ.ศ. 2490 (77 ปี)
พรเพชร วิชิตชลชัย 2562–2567 1 สิงหาคม พ.ศ. 2491 (76 ปี)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "พระราชกฤษฎีกา เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๕" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-12-29. สืบค้นเมื่อ 2022-01-01.
  2. ประธานวุฒิสภาไทยเก็บถาวร 2009-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน อ้างอิงมาจาก รักบ้านเกิด.คอม
  3. "ทำเนียบประธานวุฒิสภา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-21. สืบค้นเมื่อ 2024-05-21.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!