จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 8 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
เพื่อไทย |
8 |
312,143 |
41.70% |
6 |
1 |
75.00%
|
|
ภูมิใจไทย |
8 |
144,346 |
19.28% |
2 |
1 |
25.00%
|
|
พลังประชารัฐ |
8 |
116,753 |
15.60% |
0 |
|
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
240 |
175,369 |
23.42% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
264 |
748,611 |
100.00% |
8 |
|
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
41.70% |
ภูมิใจไทย |
|
19.28% |
พลังประชารัฐ |
|
15.60% |
อื่น ๆ |
|
23.42% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
75.00% |
ภูมิใจไทย |
|
25.00% |
|
เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า
เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
525,429 |
76.04%
|
312,143
|
41.70% |
34.34%
|
|
ภูมิใจไทย |
22,564 |
3.27%
|
144,346
|
19.28% |
16.01%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
116,753
|
15.60% |
15.60%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
69,702 |
10.09%
|
10,012
|
1.38% |
8.71%
|
|
อื่น ๆ |
73,342 |
10.60%
|
165,357
|
22.04% |
11.44%
|
ผลรวม |
691,037 |
100.00%
|
748,611
|
100.00% |
–
|
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
450,143 |
65.11%
|
312,143
|
41.70% |
23.41%
|
|
ภูมิใจไทย |
76,340 |
11.04%
|
144,346
|
19.28% |
8.24%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
116,753
|
15.60% |
15.60%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
54,629 |
7.90%
|
20,363
|
2.72% |
5.18%
|
|
ชาติพัฒนา |
59,861 |
8.66%
|
1,679
|
0.22% |
8.44%
|
|
อื่น ๆ |
50,421 |
7.29%
|
153,327
|
20.48% |
13.19%
|
ผลรวม |
691,394 |
100.00%
|
748,611
|
100.00% |
–
|
แบ่งตามเขต
เขตเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน
เขต 2
ประกอบด้วยอำเภอกันทรารมย์ อำเภอโนนคูณและอำเภอน้ำเกลี้ยง
เขต 3
เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอพยุห์ อำเภอไพรบึง อำเภอศรีรัตนะ อำเภอเบญจลักษ์และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงิน)
เขต 4
เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลภูเงิน)
เขต 5
เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอขุนหาญ อำเภอภูสิงห์และอำเภอขุขันธ์ (เฉพาะตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด)
เขต 6
เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์ (ยกเว้นตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูลและตำบลตาอุด) และอำเภอปรางค์กู่ (ยกเว้นตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
เขต 7
เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอเมืองจันทร์ อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอห้วยทับทันและอำเภอปรางค์กู่ (เฉพาะตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
เขต 8
เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมน้อยและอำเภอศิลาลาด
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
|