จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จังหวัดฉะเชิงเทราในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2557 (โมฆะ) 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน555,645
ผู้ใช้สิทธิ79.07%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ พรรคใหม่ 2
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2
คะแนนเสียง 145,242 105,003 58,388
% 36.22 26.18 14.56

  Fourth party
 
พรรค ประชาธิปัตย์
เลือกตั้งล่าสุด 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
คะแนนเสียง 29,856
% 7.45

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

แบ่งตามพรรค

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 4 145,242 36.22% 2 เพิ่มขึ้น2 50.00%
อนาคตใหม่ 4 105,003 26.18% 2 เพิ่มขึ้น2 50.00%
เพื่อไทย 2 58,388 14.56% 0 ลดลง2 0.00%
ประชาธิปัตย์ 4 29,856 7.45% 0 ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 86 62,519 15.59% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 100 401,008 100.00% 4 Steady 100.00%

แบ่งตามเขต

เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 30,116 28.90% 35,045 33.63% 39,056 37.47% 104,217 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 2 44,500 43.11% 12,103 11.73% 34,926 33.84% 11,684 11.32% 103,213 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 31,625 35.63% 15,513 17.68% 23,462 26.73% 17,161 19.96% 87,761 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 4 39,361 37.20% 42,342 40.01% 24,114 22.79% 105,817 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 145,242 36.22% 105,003 26.18% 58,388 14.56% 92,375 23.04% 401,008 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองฉะเชิงเทราและอำเภอบางน้ำเปรี้ยว (เฉพาะตำบลศาลาแดงและตำบลโพรงอากาศ)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายกิตติชัย เรืองสวัสดิ์ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ กิตติชัย เรืองสวัสดิ์ (10) 35,045 33.63
พลังประชารัฐ บุญเลิศ ไพรินทร์ (9)* 30,116 28.90
ภูมิใจไทย ณัชพล ตันเจริญ (7)✔ 22,761 21.84
ประชาธิปัตย์ วัชระ ปิ่นเจริญ (6) 9,100 8.73
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท ชอบ เขียวจันทร์ (3) 2,741 2.63
เศรษฐกิจใหม่ พรพรรณ วงษ์นิ่ม (19) 2,109 2.02
พลังท้องถิ่นไท ชัยวัฒน์ ศรีคชา (8) 416 0.40
รวมพลังประชาชาติไทย ธวัช อู่วิเชียร (15) 348 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ณภัทร ผดุงเจริญโชติ (4) 323 0.31
ประชานิยม นุสินธุ์ รุ่งเดช (13) 249 0.24
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย จรัญ สมนาค (16) 234 0.22
ประชาภิวัฒน์ ธนนท์ พรอินทร์ (5) 154 0.15
ไทรักธรรม นิทัศน์ ศรีอุราม (21) 117 0.11
แทนคุณแผ่นดิน อ้อย มูและ (20) 105 0.10
ประชาธิปไตยใหม่ อนันต์ บุญสวน (12) 103 0.10
สังคมประชาธิปไตยไทย ลาเร่ อยู่เป็นสุข (12) 100 0.10
ประชาชนปฏิรูป วินัย ส้มทับทัย (11) 94 0.09
พลังชาติไทย สุเมธ ตนะวรรณสมบัติ (18) 58 0.06
มหาชน สิทธิชัย เอื้อเฟื้อ (17) 44 0.04
เพื่อนไทย อุมัธ หวังสาสุข (1)
ไทยรักษาชาติ ฐิติมา ฉายแสง (2)✔†
ผลรวม 104,217 100.00
บัตรดี 104,217
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,121 1.86
บัตรเสีย 6,877 6.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 113,980 80.90
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,882 100
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอคลองเขื่อน อำเภอบางคล้า อำเภอราชสาส์น อำเภอพนมสารคาม (เฉพาะตำบลหนองยาว ตำบลบ้านซ่องและตำบลเขาหินซ้อน) และอำเภอบางน้ำเปรี้ยว (ยกเว้นตำบลศาลาแดงและตำบลโพรงอากาศ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ ชัยวัฒน์ เป้าเปี่ยมทรัพย์ (4) 44,500 43.11
เพื่อไทย สมชัย อัศวชัยโสภณ (10)* 34,926 33.84
อนาคตใหม่ ศิริพงษ์ นวพาณิชย์ (3) 12,103 11.73
ประชาธิปัตย์ อมรชัย ปิ่นเจริญ (1) 5,769 5.59
เสรีรวมไทย สุปรานี ทั่วทิพย์ (8) 1,560 1.51
เศรษฐกิจใหม่ สุรชัย ดำรงสุสกุล (25) 1,078 1.04
ภูมิใจไทย ธราพงษ์ จั่นแก้ว (6) 570 0.55
ไทยธรรม ณรงค์ เพิ่มพูล (24) 557 0.54
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย สุขสรรค์ พรหมสุวรรณ (9) 255 0.25
กรีน ประเสริฐ บินยูซ๊บ (18) 239 0.23
พลังท้องถิ่นไท ศักดา ฉั่วยั่งยืน (21) 208 0.20
ชาติไทยพัฒนา ธาเอก อัศววิภาส (7) 185 0.18
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย มาลีกี มั่นคง (23) 173 0.17
แทนคุณแผ่นดิน สุปรียา กลิ่นมาลัย (28) 167 0.16
รวมพลังประชาชาติไทย กันตภณ อยู่เป็นสุข (12) 160 0.16
พลเมืองไทย เชาวลิต คงแสงชัย (16) 144 0.14
ประชาภิวัฒน์ ทำนอง เข็มมลทา (2) 113 0.11
ประชาชนปฏิรูป สำราญ นพศิริ (14) 101 0.10
พลังชาติไทย สุระเด่น สุวรรณะ (22) 86 0.08
พลังประชาธิปไตย ร้อยตรี ชาติชาย เกียรติแก้วคำ (13) 72 0.07
สังคมประชาธิปไตยไทย ประสิทธิ์ ประสพสุข (20) 57 0.06
ประชานิยม นิกร แซ่โอ่ว (15) 53 0.05
เพื่อชาติ สรพงษ์ อิ่มอารมณ์ (27) 46 0.04
พลังไทยดี ชนะชัย โนรีวงศ์ (19) 35 0.03
พลังปวงชนไทย ณัฐธพัฒน์ ธรรมทินนา (17) 32 0.03
มหาชน พเยาว์ เจือจันทร์ (26) 24 0.02
ไทยรักษาชาติ เปี่ยมโกมล โสภณคุณพินิจ (5)
เพื่อนไทย อุหมัด ปาทาน (11)
ผลรวม 103,213 100.00
บัตรดี 103,213
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,391 1.24
บัตรเสีย 7,973 7.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 112,477 81.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 137,577 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 3

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอท่าตะเกียบ อำเภอสนามชัยเขตและอำเภอพนมสารคาม (ยกเว้นตำบลหนองยาว ตำบลบ้านซ่องและตำบลเขาหินซ้อน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ สุชาติ ตันเจริญ (5)✔ 31,625 35.63
เพื่อไทย สายัณห์ นิราช (6) 23,462 26.73
อนาคตใหม่ สุนทร โยสิงห์ธนังกูล (3) 15,513 17.68
ประชาธิปัตย์ ฉัตรชัย เข็มทอง (10) 4,608 5.25
ภูมิใจไทย รส มะลิผล (12)* 4,530 5.16
เสรีรวมไทย ณพงศธร แก้วคำ (2) 1,981 2.26
เศรษฐกิจใหม่ กัลยา สำอาง (25) 1,266 1.44
พลังปวงชนไทย ประเนตต์ หงษา (14) 953 1.09
ประชาภิวัฒน์ ประโยชน์ อินทสุวรรณ์ (4) 493 0.56
รวมพลังประชาชาติไทย ศักดิ์ชัย ณรงค์หนู (16) 407 0.46
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย พิเชษฐ สุขทรัพย์อนันต์ (1) 370 0.42
พลังท้องถิ่นไท ฐิติภูมิ นันทา (9) 358 0.41
ทางเลือกใหม่ ภิญโญ เนียมสงค์ (7) 356 0.41
พลเมืองไทย ธนกฤต ทองดี (22) 331 0.38
แทนคุณแผ่นดิน สุภาพร กั้วพิทักษ์ (26) 318 0.36
พลังไทยรักชาติ ยิ่งยศ สียางนอก (15) 273 0.31
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ทองหล่อ เทียนวงค์ (21) 182 0.21
เพื่อชาติ เอนก แสงอภัย (24) 155 0.18
ประชาธิปไตยใหม่ อนุรักษ์ บัวแก้ว (13) 137 0.16
สังคมประชาธิปไตยไทย สุเทพ งามสง่า (13) 136 0.15
ประชาชนปฏิรูป ศักศรี รดพิรุณ (11) 135 0.15
ไทรักธรรม นิภาพร พรมศรี (27) 121 0.14
กรีน สมหมาย มาลีเลิศ (18) 118 0.13
ประชานิยม สินีทัศน์ นันทวิสิทธิ์ (17) 108 0.12
มหาชน ทน เจือจันทร์ (23) 97 0.11
พลังชาติไทย มยุรฉัตร อักษรดี (20) 88 0.10
ไทยรักษาชาติ อดุลย์ แสงจันทร์ (8)
ผลรวม 87,761 100.00
บัตรดี 87,761
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,274 1.33
บัตรเสีย 6,634 6.93
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,669 74.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 128,056 100
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 4

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอแปลงยาว อำเภอบ้านโพธิ์และอำเภอบางปะกง

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายจิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ จิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ (3) 42,342 40.01
พลังประชารัฐ พลตำรวจโท พิทักษ์ จารุสมบัติ (4)* 39,361 37.20
ประชาธิปัตย์ ชำนาญ เกิดโสภา (2) 10,379 9.81
เสรีรวมไทย สายชล ยอดใจเย็น (7) 4,098 3.87
เศรษฐกิจใหม่ อาคม แสงสง่าศรี (18) 2,354 2.22
เพื่อชาติ ชาติชาย มั่นคง (1) 2,111 1.99
ภูมิใจไทย จักรวาล ท้วมเจริญ (16) 697 0.66
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย วิชัย คงเจริญ (20) 604 0.54
พลังประชาธิปไตย มาณพ ธารีรัตนชัย (24) 500 0.47
ประชานิยม พัฒนพงศ์ เสมานิตย์ (13) 444 0.42
พลังท้องถิ่นไท ภักดี เจริญวรชัย (5) 401 0.38
พลังไทยดี ศุภมาศ ปิ่นเจริญ (15) 368 0.35
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย วีร์ณัฏฐา ทองเชื้อ (9) 340 0.32
รวมพลังประชาชาติไทย เอิบ โฉมสะอาด (17) 313 0.30
สังคมประชาธิปไตยไทย เฉลย สุขหิรันต์ (14) 292 0.28
ประชาชนปฏิรูป วาสนา อารีราษฎร์ (8) 250 0.24
แทนคุณแผ่นดิน เอกชลิต โสภณ (23) 233 0.22
ประชาไทย ร้อยตำรวจตรี ประเวส ยังโหมด (22) 197 0.19
มหาชน บุญฤทธ์ เอื้อเฟื้อ (21) 96 0.09
พลังปวงชนไทย ภาณุพงษ์ ประจำภพ (12) 94 0.09
ประชาภิวัฒน์ กฤษดา สื่อสุวรรณ (11) 74 0.07
ไทยรักษาชาติ วุฒิพงศ์ ฉายแสง (6)✔†
เพื่อนไทย อิบรฮีม ปาทาน (10)
ผลรวม 105,817 100.00
บัตรดี 105,817
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,306 1.97
บัตรเสีย 8,510 7.26
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 117,237 78.61
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 149,130 100
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 19 Feb 2019.
  2. "9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ "ภูมิใจไทย" อย่างเป็นทางการ". Thai PBS. 2020-02-25.
  3. ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.

แหล่งข้อมูลอื่น

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!