จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 7 เขตเลือกตั้ง[1] ลดลงจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2554 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
เพื่อไทย |
7 |
213,578 |
31.33% |
5 |
2 |
71.43%
|
|
ภูมิใจไทย |
7 |
152,956 |
22.44% |
1 |
|
14.29%
|
|
พลังประชารัฐ |
7 |
151,419 |
22.22% |
1 |
1 |
14.29%
|
|
อื่น ๆ |
213 |
163,671 |
24.01% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
234 |
681,624 |
100.00% |
7 |
1 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
31.33% |
ภูมิใจไทย |
|
22.44% |
พลังประชารัฐ |
|
22.22% |
อื่น ๆ |
|
24.01% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
เพื่อไทย |
|
71.43% |
ภูมิใจไทย |
|
14.29% |
พลังประชารัฐ |
|
14.29% |
|
เทียบคะแนนกับการเลือกตั้งครั้งก่อนหน้า
เปรียบเทียบคะแนนกับผลการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
390,859 |
61.59%
|
213,578
|
31.33% |
30.26%
|
|
ภูมิใจไทย |
82,882 |
13.06%
|
152,956
|
22.44% |
9.38%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
151,419
|
22.22% |
22.22%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
89,145 |
14.05%
|
12,404
|
1.82% |
12.23%
|
|
อื่น ๆ |
71,762 |
11.30%
|
151,267
|
22.19% |
10.89%
|
ผลรวม |
634,648 |
100.00%
|
681,624
|
100.00% |
–
|
เทียบคะแนนจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต พ.ศ. 2554
พรรค |
ปี 2554
|
ปี 2562
|
+/–
|
จน. |
%
|
จน.
|
%
|
|
เพื่อไทย |
294,301 |
46.45%
|
213,578
|
31.33% |
15.12%
|
|
ภูมิใจไทย |
204,828 |
32.33%
|
152,956
|
22.44% |
9.89%
|
|
พลังประชารัฐ |
– |
–
|
151,419
|
22.22% |
22.22%
|
|
ชาติไทยพัฒนา |
89,565 |
14.14%
|
6,075
|
0.89% |
13.25%
|
|
อื่น ๆ |
44,873 |
7.08%
|
157,596
|
23.12% |
16.04%
|
ผลรวม |
633,567 |
100.00%
|
681,624
|
100.00% |
–
|
แบ่งตามเขต
เขตเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลคอโค ตำบลตระแสง ตำบลสวาย ตำบลนาบัว ตำบลเฉนียง ตำบลนอกเมือง ตำบลเทนมีย์ ตำบลตาอ็องและตำบลสำโรง) อำเภอลำดวน (ยกเว้นตำบลตรำดม) และอำเภอปราสาท (เฉพาะตำบลบ้านไทร ตำบลโคกยาง ตำบลทมอ ตำบลเชื้อเพลิง ตำบลไพล ตำบลประทัดบุ ตำบลสมุดและตำบลทุ่งมน)
เขต 2
เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเขวาสินรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ (ยกเว้นตำบลคอโค ตำบลตระแสง ตำบลสวาย ตำบลนาบัว ตำบลเฉนียง ตำบลนอกเมือง ตำบลเทนมีย์ ตำบลตาอ็องและตำบลสำโรง) และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลช่างปี่และตำบลจารพัตร)
ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์ ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา [2]
เขต 3
เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอจอมพระ อำเภอโนนนารายณ์ อำเภอรัตนบุรี (เฉพาะตำบลหนองบัวบาน ตำบลเบิด และตำบลยางสว่าง) อำเภอสนม (ยกเว้นตำบลโพนโกและตำบลหัวงัว) และอำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลบัวโคก ตำบลเมืองแก ตำบลหนองเมธี ตำบลบะและตำบลกระโพ)
เขต 4
เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วยอำเภอชุมพลบุรี อำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลพรมเทพ ตำบลทุ่งกุลา ตำบลท่าตูม ตำบลหนองบัว และตำบลโพนครก) อำเภอรัตนบุรี (ยกเว้นตำบลหนองบัวบาน ตำบลเบิด และตำบลยางสว่าง) และอำเภอสนม (เฉพาะตำบลโพนโก)
เขต 5
เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอสำโรงทาบ อำเภอสนม (เฉพาะตำบลหัวงัว) อำเภอศีขรภูมิ (ยกเว้นตำบลช่างปี่และตำบลจารพัตร) อำเภอลำดวน (เฉพาะตำบลตรำดม) และอำเภอศรีณรงค์ (เฉพาะตำบลตรวจและตำบลแจนแวน)
เขต 6
เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอบัวเชด อำเภอสังขะและอำเภอศรีณรงค์ (ยกเว้นตำบลตรวจและตำบลแจนแวน)
เขต 7
เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอกาบเชิง อำเภอพนมดงรัก และอำเภอปราสาท (ยกเว้นตำบลบ้านไทร ตำบลโคกยาง ตำบลทมอ ตำบลเชื้อเพลิง ตำบลไพล ตำบลประทัดบุ ตำบลสมุดและตำบลทุ่งมน)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|
|