ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา[1] (อังกฤษ: protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง
เบลเยียม
สหราชอาณาจักร
ทวีปเอเชีย
- ตะวันออกกลาง
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เอเชียใต้
- รัฐในพิทักษ์
ทวีปอเมริกา
ทวีปแอฟริกา
- แอฟริกาตะวันออก
- แอฟริกาตะวันตก
- แอฟริกากลาง
- แอฟริกาใต้
ทวีปโอเซียเนีย
จีน
เนเธอร์แลนด์
ฝรั่งเศส
เยอรมนี
อิตาลี
ญี่ปุ่น
โปรตุเกส
รัสเซีย
ไทย
สหรัฐ
เวียดนาม
สหประชาชาติ
- แคว้นปาปัวตะวันตก (ขณะนั้นเรียกว่านิวกินีตะวันตกหรืออีเรียนตะวันตก), United Nations Temporary Executive Authority, 1962-1963.
- กัมพูชา, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา, 1992-1993.
- Eastern Croatia, United Nations Transitional Authority for Eastern Slavonia, Baranja and Western Sirmium, 1996-1998.
- ติมอร์ตะวันออก, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก, 1999-2002.
- คอซอวอ, องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในคอซอวอ สิ้นสุดเมื่อ ค.ศ. 1999.
ดูเพิ่ม
อ้างอิง