มหาเสวกตรี พันเอก พระยาศรีสุริยพาห (นามเดิม ทองดี ภีมะโยธิน) (11 ตุลาคม 2422 – 23 เมษายน 2475)[1] เป็นขุนนางและทหารบกชาวไทย เป็นอดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก อดีตรองอธิบดีกรมพระอัศวราช อดีตผู้บังคับการกองพลที่ 7 อดีตผู้บังคับการกองพลที่ 8 และเป็นต้นตระกูลภีมะโยธิน
ประวัติ
มหาเสวกตรี พระยาศรีสุริยพาห เกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2422 เป็นบุตรชายของ ขุนวิสูตรอักษร (พุ่ม ภีมะโยธิน) ในระหว่างเกิดกบฏ ร.ศ. 130 เมื่อปี 2454 ท่านขณะดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์ ได้ร่วมกันจับกุมตัว ร้อยเอก นายแพทย์ ขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์) หัวหน้าคณะและผู้ก่อการคนอื่น ๆ
ยศและบรรดาศักดิ์
- 4 มิถุนายน 2443 – นายร้อยตรี[2]
- – นายร้อยโท (ไม่ปรากฏหลักฐาน)
- 16 มกราคม 2447 – นายร้อยเอก[3]
- 4 ธันวาคม 2448 – ขุนวิธานสรเดช ถือศักดินา 600[4]
- 10 ธันวาคม 2449 – นายพันตรี[5]
- 23 มกราคม 2450 – หลวงหัตถสารศุภกิจ ถือศักดินา 800[6]
- 22 เมษายน 2452 – นายพันโท[7]
- 27 กรกฎาคม 2454 – พระหัตถสารศุภกิจ ถือศักดินา 1000[8]
- 11 เมษายน 2455 – นายพันเอก[9]
- 13 เมษายน 2455 – นายหมู่ตรี[10]
- 1 มกราคม 2456 – พระยาศักดาภิเดชวรฤทธิ์ ถือศักดินา 1500[11]
- 4 พฤษภาคม 2458 – นายกองตรี[12]
- – เสนาธิการกองเสนารักษาดินแดนพายัพ
- 28 มกราคม 2460 – นายกองโท[13]
- 20 กุมภาพันธ์ 2462 – นายกองเอก[14]
- มิถุนายน 2463 – หัวหมื่น[15]
- 26 กรกฎาคม 2463 – พระยาศรีสุริยพาห ถือศักดินา 3000[16]
- 22 มกราคม 2463 – ราชองครักษ์เวร[17]
- 21 กุมภาพันธ์ 2463 – นายกองใหญ่[18]
- 1 มกราคม 2467 – จางวางตรี[19]
ตำแหน่ง
- – ผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม
- มิถุนายน 2456 – เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก และรักษาราชการผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยชั้นประถม[20]
- 28 เมษายน 2458 – ผู้บัญชาการกองพลที่ 8[21]
- 20 พฤษภาคม 2462 – ปลัดกองทัพน้อยทหารบกที่ 3[22]
- มิถุนายน 2463 – รองอธิบดีกรมพระอัศวราช[15]
- 4 เมษายน 2467 – องคมนตรี[23]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
อ้างอิง
- ↑ ข่าวตาย[ลิงก์เสีย]
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรทหาร[ลิงก์เสีย]
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรทหารบก
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรทหารบก
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรทหารบก
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง
- ↑ ตั้งตำแหน่งยศนายทหารบก
- ↑ "พระราชทานสัญญาบัตรเสือป่า" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 5 พฤษภาคม 1912.
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์
- ↑ "พระราชทานยศเสือป่า" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 340. 16 พฤษภาคม 1915. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2024.
- ↑ พระราชทานยศเสือป่า
- ↑ พระราชทานยศเสือป่า
- ↑ 15.0 15.1 "ประกาศกรมบัญชาการกลางมหาดเล็ก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 30 พฤษภาคม 1920.
- ↑ "พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 สิงหาคม 1920.
- ↑ แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งราชองครักษ์เวร
- ↑ พระราชทานยศเสือป่า
- ↑ พระราชทานยศ
- ↑ แจ้งความกระทรวงกลาโหม เรื่อง ถอนและตั้งตำแหน่งหน้าที่ราชการ
- ↑ แจ้งความกระทรวงกลาโหม เรื่อง เลื่อนตำแหน่งและย้ายนายทหารรับราชการ
- ↑ แจ้งความกระทรวงกลาโหม เรื่อง เลื่อนย้ายนายทหารรับราชการและออกจากประจำการ
- ↑ "การพระราชพิธีตั้งองคมนตรี พระพุทธศักราช 2467" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 69. 5 มิถุนายน 1923.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จุลจอมเกล้าฝ่ายหน้า, เล่ม ๔๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๖๒๘, ๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๖๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๕๑๑, ๑๖ มกราคม ๒๔๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๐ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๖๒๔, ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานตราวชิรมาลา, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๕, ๔ เมษายน ๒๔๕๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญจักรมาลา, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๕๒๘, ๑๖ มกราคม ๒๔๕๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๔๐, ๒ พฤษภาคม ๒๔๖๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน, เล่ม ๓๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๓๒, ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๕๗