กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน
สัญลักษณ์กีฬาฟุตบอล
หน่วยงานฟีฟ่า
รายการ2 (ชาย: 1; หญิง: 1)
การแข่งขัน

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิก (อังกฤษ: Football at the Summer Olympics) การแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกเริ่มขึ้นครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1900 โดยกำหนดให้นักกีฬามาจากนักฟุตบอลสมัครเล่น เริ่มแรกอังกฤษได้เหรียญทองในปี 1900 1908 และ 1912 หลังจากนั้นก็ไม่ได้เหรียญทองอีกเลย ฮังการีเคยครองเหรียญทองปี 1964 และ 1968 โดยทำสถิติชนะรวด 100 นัด อุรุกวัยก็เป็นอีกทีมที่ชนะสองครั้งติดต่อกันในปี 1924 และ 1928 ในปี 1996 ไนจีเรียสามารถครองเหรียญทองได้ ส่วนฟุตบอลหญิงในกีฬาโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นในปี 1996 ที่สหรัฐอเมริกา และเจ้าภาพก็ได้ครองเหรียญทองเป็นประเทศแรก

ในปี 1992 คณะกรรมการโอลิมปิกสากลอนุญาตให้นักกีฬาอาชีพลงแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ ดังนั้นกีฬาฟุตบอลจึงเปลี่ยนกฎให้นักกีฬาอาชีพลงเล่นได้ โดยมีข้อบังคับว่า ทีมชายจะต้องมีอายุต่ำกว่า 23 ปี และอนุญาตให้แต่ละทีมมีผู้เล่นที่อายุเกินได้ 3 คนเท่านั้นจากจำนวนรายชื่อผู้เล่น 18 คน ที่ส่งมา ส่วนฟุตบอลหญิงมีกฎบังคับว่า ผู้เล่นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปี ซึ่งต่างจากรายการระดับเมเจอร์ในนามทีมชาติ ที่ไม่จำกัดอายุ เป็นรูปแบบระดับกึ่งเยาวชนในนามทีมชาติ

ระบบการแข่งขัน

  • ทีมชาย: แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยเอาอันดับ 1 และ 2 ของแต่ละกลุ่ม ผ่านเข้ารอบต่อไป
  • ทีมหญิง: แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยเอาอันดับ 1 และ 2 ของแต่ละกลุ่ม และอันดับ 3 อีก 2 ทีม ที่ดีที่สุดใน 4 กลุ่ม ผ่านเข้ารอบต่อไป
  • จำนวนนัดที่แข่งขัน: ทีมชาย 32 นัด - ทีมหญิง 26 นัด

สนามการแข่งขัน

เจ้าภาพโอลิมปิกเกมส์ เมือง สนาม
กรีซ เอเธนส์ 1896 ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอล
ฝรั่งเศส ปารีส 1900 ปารีส วีละโดรมแว็งเซน
สหรัฐอเมริกา เซนต์หลุยส์ 1904 เซนต์หลุยส์, มิสซูรี ฟรานซิส
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1908 ลอนดอน สนามกีฬาไวต์ซิตี
สวีเดน สต็อกโฮล์ม 1912 สต็อกโฮล์ม สนามกีฬาโอลิมปิกสต็อกโฮล์ม
สนามกีฬาราซุนดา
เทรนเบิร์ก อิร็อคเพรส
เบลเยียม แอนต์เวิร์ป 1920 แอนต์เวิร์ป สนามกีฬาโอลิมปิก
สนามกีฬาบูคสการ์แอส
บรัสเซลส์ สนามกีฬา สต๊าด เดอ แอล'ยูเนี่ยน เอสที.กิลลุส
เกนต์ สนามกีฬาเกลัมโค อารีนา
ฝรั่งเศส ปารีส 1924 ปารีส สนามกีฬาโอลิมปิก, โคลอมเบีย
สต๊าดเบเกเยอ
สต๊าด เดอ ปารีส, เซนต์-อูอน
สต๊าด เพอร์ชิง, วินเซนต์นุน
เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม 1928 อัมสเตอร์ดัม สนามกีฬาโอลิมปิก
สนามกีฬาแฮรีเอล
สหรัฐอเมริกา ลอสแอนเจลิส 1932 ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอล
เยอรมนี เบอร์ลิน 1936 เบอร์ลิน สนามกีฬาโอลิมปิก
โพสสเตเดียม, เทียกาเตน
มอมเซนต์สเตเดียม, ชาร์ลอตเทนเบิร์ก
แฮร์ทา-เบเอ็สเซ-พาร์ก
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1948 ลอนดอน สนามกีฬาเอ็มไพร์เวมบลีย์
ไวต์ฮาร์ตเลน, ทอตนัม
เซลเฮิสต์พาร์ก, คริสตัลปาร์ก
เครเวนคอตทิจ, ฟูลัม
กริฟฟินพาร์ก, เบรนท์ฟอร์ด
อาร์เซนอลสเตเดียม, ไฮบรี
ลินน์โรดสเตเดียม, อิลฟอร์ด
สนามกรีนพอนด์โรด, วอลแทมสโตว์
แชมป์เปียนฮิลล์, ดัลวิช
ไบรท์ตัน โกลด์สโตน
พอร์ตสมัท แฟรตตันพาร์ก
ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 1952 เฮลซิงกิ โอลิมปิกสเตเดียม
สนามฟุตบอลทูลโลน
ทัวร์คู กุพิชตาสเตเดียม
ทามเปเร ราตีนาสเตเดียม
ลาห์ติ คิซาปุยโตะ
กอตกา กอตกาสเตเดียม
ออสเตรเลีย เมลเบิร์น 1956 เมลเบิร์น สนามคริกเก็ตเมลเบิร์น
โอลิมปิกพาร์กสเตเดียม
อิตาลี โรม 1960 โรม สตาดิโอฟลามินิโอ
ฟลอเรนซ์ สตาดีโอคอมมาเมล
กรอสเซตโต สตาดิโอคอมมาเมล
ลิวอร์โน สตาดิโออาเดนซา
เพสการา สตาดิโออาเดรียติโก
ลากวีลา สตาดีโอคอมมาเมล
เนเปิลส์ สตาดิโอฟูคอริคอสตา
ญี่ปุ่น โตเกียว 1964 โตเกียว นาโทนาลโอลิมปิกสเตเดียม
สนามอนุสรณ์เจ้าชายชิชิบุ
โคมาซาวะสเตเดียม
โอมิยะ สนามฟุตบอลโอมิยะ
โยโกฮามา สนามฟุตบอลมิตสึซาวะ
เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี 1968 เม็กซิโกซิตี อัซเตกา
ปวยบลา เอสตาจีอูคอลทีม็อค
กัวดาลาจารา เอสตาดิโอฮาลิสโก
ลีออง เอสตาดิโอลีออง
เยอรมนีตะวันตก มิวนิก 1972 มิวนิก โอลิมปิกสเตเดียม
ออกสบูร์ก โรสเซนโนตสเตเดียม
อินกอลสตาดท์ อีเอสวี-สเตเดียม
เรเกนสบวร์ก จันทร์สเตเดียม
นูเรมเบิร์ก สตาลินคาสเตเดียม
ปัสเซา สนามกีฬาเดฟัส
แคนาดา มอนทรีออล 1976 มอนทรีออล โอลิมปิกสเตเดียม
เชอร์บรูค มินิสโบสเตเดียม
โทรอนโต วาซิตีสเตเดียม
ออตตาวา แลนด์ดาวน์สเตเดียม
สหภาพโซเวียต มอสโก 1980 มอสโก ลุจนีกีสเตเดียม
ไดนาโมสเตเดียม
เลนินกราด คิรอฟสเตเดียม
เคียฟ รีพับลิกันสเตเดียม
มินสก์ ดินาโมสเตเดียม
สหรัฐอเมริกา ลอสแอนเจลิส 1984 แพซาดีนา, แคลิฟอร์เนีย โรสโบวล์
บอสตัน, แมสซาชูเซตส์ ฮาร์วาร์ดสเตเดียม
แอนแนโปลิส, แมริแลนด์ นาวี–มารีย์ คอมบ์ มาลินแลนด์ สเตเดียม
สแตนฟอร์ด, แคลิฟอร์เนีย สแตนฟอร์ดสเตเดียม
เกาหลีใต้ โซล 1988 โซล โซลโอลิมปิกสเตเดียม
ทงแดมุนสเตเดียม
ปูซาน ปูซานสเตเดียม
แทกู แทกูสเตเดียม
เดจอน เดจอนสเตเดียม
กวางจู กวางจูสเตเดียม
สเปน บาร์เซโลนา 1992 บาร์เซโลนา กัมนอว์
เอสตาดีกูร์เนยา-เอลปรัต
ซาบาเดลล์ เอสตาดีกูร์เนยา-โนวาคียูออตา
ซาราโกซา เอสตาดี–ลาโรมาเรดา
บาเลนเซีย เอสตาดิโอหลุยส์คาสโนวา
สหรัฐอเมริกา แอตแลนตา 1996 เอเธนส์, จอร์เจีย ซานฟอร์ดสเตเดียม
ออร์แลนโด, ฟลอริดา เชเทสโบว์
เบอร์มิงแฮม, แอละแบมา ลีเจียเฟีลด์
ไมอามี, ฟลอริดา ไมอามีโอเรนโบว
วอชิงตัน, ดี.ซี. โรเบิร์ต เอฟ เคนเนดี เมโมเรียล สเตเดียม
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 ซิดนีย์ โอลิมปิกสเตเดียม
ซิดนีย์ฟุตบอลสเตเดียม
บริสเบน สนามคริกเก็ตบริสเบน
แอดิเลด ฮานมาร์ก
แคนเบอร์รา บรูซสเตเดียม
เมลเบิร์น สนามคริกเก็ตเมลเบิร์น
กรีซ เอเธนส์ 2004 เอเธนส์ เอเธนส์โอลิมปิกสเตเดียม
คาไรสคาคิสสเตเดียม
ปาทรัส แพมเพโลพอนนิเซียโกะสเตเดียม
โวลอส แพนเทสซาลิโกสเตเดียม
เทสซาโลนิกิ คาปัสซอกลีโอสเตเดียม
เฮอราคลิออน ปานกฤติโอสเตเดียม
จีน ปักกิ่ง 2008 ปักกิ่ง สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง
เวอร์เกอร์สเตเดียม
เทียนจิน เทียนจิน โอลิมปิก เซนเตอร์ สเตเดียม
เซี่ยงไฮ้ เซี่ยงไฮ้สเตเดียม
ฉินฮวงเต่า ฉิงหวงเต่า โอลิมปิก สปอร์ตส์ เซ็นเตอร์ สเตเดียม
เสิ่นหยาง สนามกีฬาโอลิมปิกเสิ่นหยาง
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 ลอนดอน เวมบลีย์สเตเดียม
กลาสโกว์ แฮมป์เดนพาร์ก
คาร์ดิฟฟ์ มิลเลเนียมสเตเดียม
โคเวนทรี ซิตี ออฟ โคเวนทรี สเตเดียม*
แมนเชสเตอร์ โอลด์แทรฟฟอร์ด
นิวคาสเซิลอะพอนไทน์ เซนต์เจมส์พาร์ก*
บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 รีโอเดจาเนโร เอสตาจีอูดูมารากานัง
เอสตารีโอ โอลิลิมปิก โจเอาต์ แฮนด์แลนด์
เซาเปาลู โครินเธียนส์ อารีนา
บราซีเลีย สนามกีฬาแห่งชาติมาเน การิงชา
ซัลวาดอร์ อาเรนาฟงชีนอวา*
โฮริซอนทิ สนามมีเนย์เรา
มาเนาส์ อาเรนาดาอามาโซเนีย
ญี่ปุ่น โตเกียว 2020 โตเกียว โอลิมปิกสเตเดียม
โตเกียวสเตเดียม
โยโกฮามา สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
ไซตามะ ไซตามะสเตเดียม 2002
มิยางิ มิยางิสเตเดียม
ซัปโปะโระ ซัปโปะโระโดม
ฝรั่งเศส ปารีส 2024
Marseille Stade Vélodrome
Décines-Charpieu
(Lyon area)
Groupama Stadium
Paris Parc des Princes
Bordeaux Matmut Atlantique
Nantes Stade de la Beaujoire
Nice Allianz Riviera
Saint-Étienne Stade Geoffroy-Guichard

การแข่งขันในแต่ละปี

ประเภท 96 00 04 08 12 20 24 28 32 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
ทีมชาย X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X X 27
ทีมหญิง X X X X X X X 7

ทีมฟุตบอลที่ผ่านเข้ารอบในโอลิมปิกฤดูร้อน

ทีมชาย

ยูฟ่า
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
ออสเตรีย 6 2 =11 =5 4
เบลารุส 10 1
เบลเยียม 3 1 15 =5 4 5
บัลแกเรีย 10 =17 3 5 2 5
เช็กเกีย 14 1
เชโกสโลวาเกีย 9 9 2 9 1 แบ่งออกเป็นสโลวาเกียและสาธารณรัฐเช็ก 5
เดนมาร์ก 2 2 10 3 =5 2 6 13 8 9
เยอรมนีตะวันออก[1] 3 3 1 2 รวมประเทศกับเยอรมนีตะวันตก 4
เอสโตเนีย =17 1
ฟินแลนด์ 4 =9 =14 9 4
ฝรั่งเศส 2 5 4 5 =9 =5 =17 9 7 5 1 5 13 13
เยอรมนี[2] 7 =5 =6 4 =9 5 5 3 2 9 10
สหราชอาณาจักร 1 1 1 11 =6 4 =17 =5 8 5 10
กรีซ 13 =17 15 3
ฮังการี 5 13 =9 1 3 1 1 2 16 9
ไอร์แลนด์ 7 =17 2
อิสราเอล ตัวแทนจากโซนเอเชีย (เข้าร่วมมาแล้ว 2 ครั้ง) 2
อิตาลี 8 5 6 3 1 =5 =9 4 4 4 5 12 5 3 5 15
ลัตเวีย 16 1
ลิทัวเนีย =17 1
ลักเซมเบิร์ก 12 11 =9 =9 =9 =9 6
เนเธอร์แลนด์ 3 3 3 4 =9 =9 =17 7 8
นอร์เวย์ 9 7 3 =14 10 5
โปแลนด์ =17 4 =9 10 1 2 2 7
โปรตุเกส =5 4 14 6 4
โรมาเนีย 14 =17 5 11 4
รัสเซีย 10 1
เซอร์เบีย 12 1
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 16 แบ่งออกเป็น 2 ประเทศ 1
สโลวาเกีย 13 1
สหภาพโซเวียต =9 1 3 3 3 1 แบ่งออกเป็น 15 ประเทศ 6
สเปน 2 =17 =5 6 12 10 1 6 2 14 2 11
สวีเดน 4 11 6 3 =9 1 3 6 6 15 10
สวิตเซอร์แลนด์ 2 =9 13 3
ตุรกี =17 =9 =9 =5 =5 14 6
ยูโกสลาเวีย 9 =17 =9 2 2 2 1 6 4 3 10 แบ่งออกเป็น 7 ประเทศ 11
คอนเมบอล
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
อาร์เจนตินา 2 7 10 8 2 1 1 11 10 9
บราซิล =5 6 9 13 13 4 2 2 3 7 3 2 1 1 14
ชิลี 17 =17 7 3 4
โคลอมเบีย 10 11 11 14 6 5
ปารากวัย 7 2 2
เปรู 5 11 2
อุรุกวัย 1 1 9 3
เวเนซุเอลา 12 1
คอนคาเคฟ
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
แคนาดา 1 13 6 3
คอสตาริกา 16 13 8 3
คิวบา 11 7 2
เอลซัลวาดอร์ 15 1
กัวเตมาลา 8 10 16 3
ฮอนดูรัส 10 16 7 4 14 5
เม็กซิโก =9 =11 11 4 7 9 10 7 =10 1 9 3 12
เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส =14 แบ่งออกเป็น 2 ประเทศ 1
สหรัฐ 2[3] 3 12 =9 =9 =11 =17 =5 14 9 12 9 10 4 9 14
ซีเอเอฟ
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
แอลจีเรีย 8 14 2
แคเมอรูน 11 1 8 3
อียิปต์ 8 8 4 =9 =11 =9 12 4 8 12 8 8 12
โกตดิวัวร์ 6 7 2
กาบอง 12 1
กานา 7 12 16 3 8 9 6
กินี 11 1
มาลี 5 1
โมร็อกโก 13 8 12 15 16 =10 11 7
ไนจีเรีย 14 13 15 1 8 2 3 7
เซเนกัล 6 1
แอฟริกาใต้ 11 13 16 3
ซูดาน 15 1
ตูนิเซีย 15 13 14 12 4
แซมเบีย 15 5 2
เอเอฟซี
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
อัฟกานิสถาน =17 1
ออสเตรเลีย ตัวแทนจากโซนโอเชียเนีย (เข้าร่วมมาแล้ว 6 ครั้ง) 11 12 2
จีน 14 13 2
จีนไทเป =9 =11 16 3
อินเดีย =11 =17 4 13 4
อินโดนีเซีย =5 1
อิหร่าน 12 12 7 3
อิรัก 5 14 9 4 12 5
อิสราเอล 5 6 ตัวแทนจากโซนยุโรป (เข้าร่วมมาแล้ว 0 ครั้ง) 2
ญี่ปุ่น =6 =9 8 3 9 6 13 15 4 10 4 11
คูเวต 6 16 12 3
มาเลเซีย 10 1
พม่า 9 1
เกาหลีเหนือ 8 1
กาตาร์ 15 8 2
ซาอุดีอาระเบีย 16 15 15 3
เกาหลีใต้ =5 14 11 11 11 9 6 10 3 5 5 11
ซีเรีย 14 1
ไทย =9 16 2
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 15 1
โอเอฟซี
ชาติ 00 04 08 12 20 24 28 36 48 52 56 60 64 68 72 76 80 84 88 92 96 00 04 08 12 16 20 ปี
ออสเตรเลีย =5 7 4 13 15 7 ตัวแทนจากโซนเอเชีย (เข้าร่วมมาแล้ว 2 ครั้ง) 6
ฟีจี 16 1
นิวซีแลนด์ 14 16 6 3
รวม 3 2 5 11 14 22 17 16 18 25 11 16 14 16 16 13 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16 16

ทีมหญิง

ชาติ 96 00 04 08 12 16 20 ปี
อาร์เจนตินา 11 1
ออสเตรเลีย 7 5 7 4 4
บราซิล 4 4 2 2 6 4 6 7
แคเมอรูน 12 1
แคนาดา 8 3 3 1 4
ชิลี 11 1
จีน 2 5 9 5 8 10 6
โคลอมเบีย 11 11 2
เดนมาร์ก 8 1
ฝรั่งเศส 4 6 3
เยอรมนี 5 3 3 3 1 5
สหราชอาณาจักร 5 7 2
กรีซ 10 1
ญี่ปุ่น 7 7 4 2 8 5
เม็กซิโก 8 1
เนเธอร์แลนด์ 5 1
นิวซีแลนด์ 10 8 9 12 4
ไนจีเรีย 8 6 11 3
เกาหลีเหนือ 9 9 2
นอร์เวย์ 3 1 7 3
แอฟริกาใต้ 10 10 2
สวีเดน 6 6 4 6 7 2 2 7
สหรัฐ 1 2 1 1 1 5 3 7
แซมเบีย 9 1
ซิมบับเว 12 1
รวม 8 8 10 12 12 12 12

จำนวนทีมฟุตบอลที่สามารถได้เข้าร่วมในโอลิมปิกฤดูร้อน

การแข่งขันของทีมชาย

โควต้าในแต่ละโซนมีดังนี้

การแข่งขันของทีมหญิง

โควต้าในแต่ละโซนมีดังนี้

ผลการแข่งขันของทีมฟุตบอลที่ผ่านเข้ารอบในโอลิมปิกฤดูร้อน

ทีมชาย

ครั้งที่ ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการแข่งขัน อันดับ 4
1896 กรีซ
เอเธนส์
ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอล
1 1900
รายละเอียด
ฝรั่งเศส
ปารีส
สหราชอาณาจักร
บริเตน
(อัปตันพาร์ก)
[4]
ฝรั่งเศส
(เกลิบฟร็องแซ)

เบลเยียม
(ยูแอลบี)
[4] เนื่องจากเข้าร่วมการแข่งขันเพียงสามทีม
2 1904
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
เซนต์หลุยส์
แคนาดา
แคนาดา
(กลอต์)
[5] สหรัฐอเมริกา
สหรัฐ
(คริสเตียนบรัดเดอส์คอลลิจ)
สหรัฐอเมริกา
สหรัฐ
(เซนต์โรสแพริช)
[5] เนื่องจากเข้าร่วมการแข่งขันเพียงสามทีม
3 1908
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน
สหราชอาณาจักร
บริเตน
2–0
เดนมาร์ก

เนเธอร์แลนด์
2–0
สวีเดน
4 1912
รายละเอียด
สวีเดน
สต็อกโฮล์ม
สหราชอาณาจักร
บริเตน
4–2
เดนมาร์ก

เนเธอร์แลนด์
9–0 จักรวรรดิรัสเซีย
ฟินแลนด์
5 1920
รายละเอียด
เบลเยียม
แอนต์เวิร์ป

เบลเยียม
[6]
สเปน

เนเธอร์แลนด์
[6]
ฝรั่งเศส
6 1924
รายละเอียด
ฝรั่งเศส
ปารีส

อุรุกวัย
3–0
สวิตเซอร์แลนด์

สวีเดน
1–1
aet

เนเธอร์แลนด์
การแข่งขันใหม่: 3–1
7 1928
รายละเอียด
เนเธอร์แลนด์
อัมสเตอร์ดัม

อุรุกวัย
1–1
aet

อาร์เจนตินา

อิตาลี
11–3
อียิปต์
การแข่งขันใหม่: 2–1
1932 สหรัฐอเมริกา
ลอสแอนเจลิส
ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอล
8 1936
รายละเอียด
เยอรมนี
เบอร์ลิน

อิตาลี
2–1
aet

ออสเตรีย

นอร์เวย์
3–2
โปแลนด์
9 1948
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน

สวีเดน
3–1
ยูโกสลาเวีย

เดนมาร์ก
5–3 สหราชอาณาจักร
บริเตน
10 1952
รายละเอียด
ฟินแลนด์
เฮลซิงกิ

ฮังการี
2–0
ยูโกสลาเวีย

สวีเดน
2–0 เยอรมนีตะวันตก
เยอรมนี
11 1956
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
เมลเบิร์น

สหภาพโซเวียต
1–0
ยูโกสลาเวีย
[[File:{{{flag alias-1946}}}|30x27px|border |alt=|link=]]
บัลแกเรีย
3–0
อินเดีย
12 1960
รายละเอียด
อิตาลี
โรม

ยูโกสลาเวีย
3–1
เดนมาร์ก

ฮังการี
2–1
อิตาลี
13 1964
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

ฮังการี
2–1
เชโกสโลวาเกีย
เยอรมนี
เยอรมนี[1]
3–1
สหสาธารณรัฐอาหรับ
14 1968
รายละเอียด
เม็กซิโก
เม็กซิโกซิตี

ฮังการี
4–1
บัลแกเรีย

ญี่ปุ่น
2–0
เม็กซิโก
15 1972
รายละเอียด
เยอรมนี
มิวนิก

โปแลนด์
2–1
ฮังการี

เยอรมนีตะวันออก

สหภาพโซเวียต
2–2[7]
aet
16 1976
รายละเอียด
แคนาดา
มอนทรีออล

เยอรมนีตะวันออก
3–1
โปแลนด์

สหภาพโซเวียต
2–0
บราซิล
17 1980
รายละเอียด
สหภาพโซเวียต
มอสโก

เชโกสโลวาเกีย
1–0
เยอรมนีตะวันออก

สหภาพโซเวียต
2–0
ยูโกสลาเวีย
18 1984
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
ลอสแอนเจลิส

ฝรั่งเศส
2–0
บราซิล

ยูโกสลาเวีย
2–1
อิตาลี
19 1988
รายละเอียด
เกาหลีใต้
โซล

สหภาพโซเวียต
2–1
aet

บราซิล
เยอรมนีตะวันตก
เยอรมนีตะวันตก
3–0
อิตาลี
20 1992
รายละเอียด
สเปน
บาร์เซโลนา

สเปน
3–2
โปแลนด์

กานา
1–0
ออสเตรเลีย
21 1996
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
แอตแลนตา

ไนจีเรีย
3–2
อาร์เจนตินา

บราซิล
5–0
โปรตุเกส
22 2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
ซิดนีย์

แคเมอรูน
2–2
asdet

สเปน

ชิลี
2–0
สหรัฐอเมริกา
5–3 ดวลลูกโทษ
23 2004
รายละเอียด
กรีซ
เอเธนส์

อาร์เจนตินา
1–0
ปารากวัย

อิตาลี
1–0
อิรัก
24 2008
รายละเอียด
จีน
ปักกิ่ง

อาร์เจนตินา
1–0
ไนจีเรีย

บราซิล
3–0
เบลเยียม
25 2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน

เม็กซิโก
2–1
บราซิล

เกาหลีใต้
2–0
ญี่ปุ่น
26 2016
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร
 บราซิล 1–1
ต่อเวลาพิเศษ
 เยอรมนี  ไนจีเรีย 3–2  ฮอนดูรัส
5–4 ดวลลูกโทษ
27 2020
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

บราซิล
2–1
ต่อเวลาพิเศษ

สเปน

เม็กซิโก
3–1
ญี่ปุ่น

หมายเหตุ

ความสำเร็จของทีมชาย

ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ จำนวนเหรียญ
ธงชาติฮังการี ฮังการี 3 (1952, 1964, 1968) 1 (1972) 1 (1960) 5
ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 3 (1900, 1908, 1912) 1 (1948) 3
 บราซิล 2 (2016, 2020) 3 (1984, 1988, 2012) 2 (1996, 2008) 1 (1976) 7
 อาร์เจนตินา 2 (2004, 2008) 2 (1928, 1996) 4
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 2 (1956, 1988) 3 (1972, 1976, 1980) 5
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 2 (1924, 1928) 2
 ยูโกสลาเวีย 1 (1960) 3 (1948, 1952, 1956) 1 (1984) 1 (1980) 5
 สเปน 1 (1992) 3 (1920, 2000, 2020) 4
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 1 (1972) 2 (1976, 1992) 1 (1936) 3
ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก 1 (1976) 1 (1980) 1 (1972) 3
 ไนจีเรีย 1 (1996) 1 (2008) 1 (2016) 3
 ฝรั่งเศส 1 (1984) 1 (1900) 1 (1920) 2
 เชโกสโลวาเกีย 1 (1980) 1 (1964) 2
 อิตาลี 1 (1936) 2 (1928, 2004) 3 (1960, 1984, 1988) 3
 สวีเดน 1 (1948) 2 (1924, 1952) 1 (1908) 3
 เบลเยียม 1 (1920) 1 (1900) 1 (2008) 2
 เม็กซิโก 1 (2012) 1 (2020) 1 (1968) 2
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1 (1904) 1
 แคเมอรูน 1 (2000) 1
 เดนมาร์ก 3 (1908, 1912, 1960) 1 (1948) 4
 สหรัฐอเมริกา 1 (1904) 1 (1904) 1 (2000) 2
ธงชาติบัลแกเรีย บัลแกเรีย 1 (1968) 1 (1956) 2
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 1 (2016) 1 (1952) 1
 สวิตเซอร์แลนด์ 1 (1924) 1
 ออสเตรีย 1 (1936) 1
 ปารากวัย 1 (2004) 1
 เนเธอร์แลนด์ 3 (1908, 1912, 1920) 1 (1924) 3
 ญี่ปุ่น 1 (1968) 2 (2012, 2020) 1
 นอร์เวย์ 1 (1936) 1
เยอรมนี 1 (1964) 1
ธงชาติเยอรมนี เยอรมันตะวันตก 1 (1988) 1
 กานา 1 (1992) 1
 ชิลี 1 (2000) 1
 เกาหลีใต้ 1 (2012) 1
 อียิปต์ 2 (1928, 1964) 0
 ฟินแลนด์ 1 (1912) 0
 อินเดีย 1 (1956) 0
 ออสเตรเลีย 1 (1992) 0
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 1 (1996) 0
 อิรัก 1 (2004) 0
 ฮอนดูรัส 1 (2016) 0

ทีมหญิง

ครั้งที่ ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการแข่งขัน อันดับ 4
1 1996
รายละเอียด
สหรัฐอเมริกา
แอตแลนตา
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐ 2–1
จีน

นอร์เวย์
2–0
บราซิล
2 2000
รายละเอียด
ออสเตรเลีย
ซิดนีย์

นอร์เวย์
3–2
asdet
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐ
เยอรมนี
2–0
บราซิล
3 2004
รายละเอียด
กรีซ
เอเธนส์
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐ 2–1
aet

บราซิล

เยอรมนี
1–0
สวีเดน
4 2008
รายละเอียด
จีน
ปักกิ่ง
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐ 1–0
aet

บราซิล

เยอรมนี
2–0
ญี่ปุ่น
5 2012
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
ลอนดอน
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐ 2–1
ญี่ปุ่น

แคนาดา
1–0
ฝรั่งเศส
6 2016
รายละเอียด
บราซิล
รีโอเดจาเนโร

เยอรมนี
2–1
สวีเดน

แคนาดา
2–1
บราซิล
7 2020
รายละเอียด
ญี่ปุ่น
โตเกียว

แคนาดา
1–1
aet

สวีเดน

สหรัฐ
4–3
ออสเตรเลีย
3–2 ดวลลูกโทษ

หมายเหตุ

ความสำเร็จของทีมหญิง

ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ จำนวนเหรียญ
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 4 (1996, 2004, 2008, 2012) 1 (2000) 1 (2020) 6
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 1 (2016) 3 (2000, 2004, 2008) 4
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 1 (2020) 2 (2012, 2016) 3
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 1 (2000) 1 (1996) 2
ธงชาติบราซิล บราซิล 2 (2004, 2008) 3 (1996, 2000, 2016) 2
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 2 (2016, 2020) 1 (2004) 2
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 (2012) 1 (2008) 1
ธงชาติจีน จีน 1 (1996) 1
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 (2020) 0
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 (2012) 0

ความสำเร็จในกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน

ทีมชาย

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 ฮังการี3115
2 สหราชอาณาจักร3003
3 บราซิล2327
4 อาร์เจนตินา2204
5 สหภาพโซเวียต2035
6 อุรุกวัย2002
7 ยูโกสลาเวีย1315
8 สเปน1304
9 โปแลนด์1203
10 เยอรมนีตะวันออก1113
ไนจีเรีย1113
12 เชโกสโลวาเกีย1102
ฝรั่งเศส1102
14 สวีเดน1023
อิตาลี1023
16 เม็กซิโก1012
เบลเยียม1012
18 แคเมอรูน1001
แคนาดา1001
20 เดนมาร์ก0314
21 สหรัฐ0112
บัลแกเรีย0112
23 เยอรมนี0101
สวิตเซอร์แลนด์0101
ปารากวัย0101
ออสเตรีย0101
27 เนเธอร์แลนด์0033
28 เยอรมนีตะวันตก0011
ชิลี0011
เยอรมนี0011
ญี่ปุ่น0011
เกาหลีใต้0011
นอร์เวย์0011
กานา0011
รวม (34 ประเทศ)27272882

ทีมหญิง

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ4116
2 เยอรมนี1034
3 แคนาดา1023
4 นอร์เวย์1012
5 สวีเดน0202
บราซิล0202
7 ญี่ปุ่น0101
จีน0101
รวม (8 ประเทศ)77721

ทั้งหมด

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ4228
2 ฮังการี3115
3 สหราชอาณาจักร3003
4 บราซิล2529
5 อาร์เจนตินา2204
6 สหภาพโซเวียต2035
7 แคนาดา2024
8 อุรุกวัย2002
9 ยูโกสลาเวีย1315
10 สเปน1304
11 สวีเดน1225
12 โปแลนด์1203
13 เยอรมนี1135
14 ไนจีเรีย1113
เยอรมนีตะวันออก1113
16 เชโกสโลวาเกีย1102
ฝรั่งเศส1102
18 อิตาลี1023
นอร์เวย์1023
20 เม็กซิโก1012
เบลเยียม1012
22 แคเมอรูน1001
23 เดนมาร์ก0314
24 ญี่ปุ่น0112
บัลแกเรีย0112
26 สวิตเซอร์แลนด์0101
ออสเตรีย0101
จีน0101
ปารากวัย0101
30 เนเธอร์แลนด์0033
31 เยอรมนีตะวันตก0011
กานา0011
เยอรมนี0011
ชิลี0011
เกาหลีใต้0011
รวม (35 ประเทศ)343435103

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 The East German team represented the United Team of Germany in 1964, winning the bronze medal.
  2. The team represented the United Team of Germany in 1956, and the Federal Republic of Germany (i.e., West Germany) in 1972, 1984 and 1988, and winning the bronze medal in 1988.
  3. The United States had two teams at the 1904 Games, taking the silver and bronze medals.
  4. 4.0 4.1 The 1900 tournament was originally a pair of demonstration matches between the three teams, but has subsequently been upgraded to official status by the IOC with medals attributed to the teams based upon the match results.
  5. 5.0 5.1 The 1904 tournament was originally a set of demonstration matches between the three teams, but has subsequently been upgraded to official status by the IOC with medals attributed to the teams based upon the round-robin results.
  6. 6.0 6.1 In 1920, Czechoslovakia abandoned the final match against Belgium after 40 minutes with the latter up 2–0. They were disqualified, and a mini-tournament to figure out the other medalists was held, with Spain beating the Netherlands for second place 3–1.
  7. Ended 2–2 at the end of extra time. Both teams were awarded bronze medals.

แหล่งข้อมูลอื่น

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!