เมตฟอร์มิน

เมตฟอร์มิน
Chemical structure (top) and ball-and-stick model (bottom) of metformin
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าGlucophage
ชื่ออื่น1,1-dimethylbiguanide
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa696005
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: C
  • US: B (ไม่มีความเสี่ยงในสัตว์)
ช่องทางการรับยาOral
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล50 to 60% under fasting conditions
การเปลี่ยนแปลงยาNone
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ6.2 hours
การขับออกActive renal tubular excretion by OCT2
ตัวบ่งชี้
  • N,N-dimethylimidodicarbonimidic diamide
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.010.472
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC4H11N5
มวลต่อโมล129.164 g/mol (free)
165.63 g/mol (HCl) g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • [N@H]=C(\N=C(/N)N)N(C)C
  • InChI=1S/C4H11N5/c1-9(2)4(7)8-3(5)6/h1-2H3,(H5,5,6,7,8) checkY
  • Key:XZWYZXLIPXDOLR-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เมตฟอร์มิน (อังกฤษ: metformin) เป็นยาสำหรับรักษาผู้มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 หรือชนิดไม่ต้องพึ่งอินซูลิน ถูกค้นพบนานกว่า 90 ปีแล้ว บางครั้งอาจใช้ในผู้มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคก็ได้

การออกฤทธิ์

กลไกการออกฤทธิ์ของยาเมตฟอร์มินในปัจจุบันยังไม่ทราบแน่ชัด ซึ่งจะสกัดการดูดซึมน้ำตาลเข้าสู่กระแสเลือดในระบบทางเดินอาหาร ช่วยกระตุ้นการทำงานของอินซูลินให้เผาผลาญน้ำตาลในร่างกายเร็วขึ้น นอกจากใช้สำหรับรักษาผู้มีภาวะเบาหวานแล้ว เมตฟอร์มินยังใช้สำหรับรักษาอาการรังไข่ทำงานผิดปกติในเพศหญิง หรืออาการประจำเดือนมาไม่ปกติในผู้หญิงที่เป็นโรคอ้วนหรือมีน้ำหนักตัวมากเกินไป [1][2] [3]

ผลข้างเคียงไม่พึงประสงค์

การใช้ยาเมตฟอร์มินอาจส่งผลข้างเคียง เช่น ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย น้ำหนักตัวลด หนาวสั่น ผื่นคัน ภาวะขาดวิตามินบี12 ปวดศีรษะ ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือหากกินร่วมกับแอลกอฮอล์ อาจทำให้เกิดภาวะกรดแลกติกในกระแสเลือด[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Metformin". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-30. สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
  2. การรักษาโรคเบาหวานด้วยยา
  3. inhibitors (acarbose ยาเม็ดลดน้ำตาลในเลือด]


Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!