ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2565 |
---|
แผนที่สรุปฤดูกาล |
ขอบเขตฤดูกาล |
---|
ระบบแรกก่อตัว | 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 |
---|
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 24 ตุลาคม พ.ศ. 2565 |
---|
พายุมีกำลังมากที่สุด |
---|
|
ชื่อ | ออร์ลีน |
---|
• ลมแรงสูงสุด | 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
---|
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 949 มิลลิบาร์ (hPa; 28.02 inHg) |
---|
|
สถิติฤดูกาล |
---|
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 19 ลูก |
---|
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 19 ลูก |
---|
พายุเฮอริเคน | 10 ลูก |
---|
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ (ระดับ 3 ขึ้นไป) | 4 ลูก |
---|
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 26 คน |
---|
ความเสียหายทั้งหมด | > 54.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 2022) |
---|
|
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก 2563, 2564, 2565, 2566, 2567 |
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2565 คือช่วงของฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนภายในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก โดยฤดูกาลนี้เริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง และไปจบลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565[1] โดยขอบเขตดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา
พายุ
พายุเฮอริเคนแอกาทา
พายุเฮอริเคนบลัส
พายุโซนร้อนซีเลีย
พายุเฮอริเคนบอนนี
พายุเฮอริเคนดาร์บี
พายุเฮอริเคนเอสเทลล์
พายุเฮอริเคนแฟรงก์
พายุโซนร้อนจอร์เจตต์
พายุเฮอริเคนฮาวเวิร์ด
พายุโซนร้อนอีเวตต์
พายุโซนร้อนฆาบิเอร์
พายุเฮอริเคนเคย์
พายุโซนร้อนเลสเตอร์
พายุโซนร้อนแมเดลิน
พายุโซนร้อนนิวตัน
พายุเฮอริเคนออร์ลีน
พายุโซนร้อนเพน
พายุโซนร้อนจูเลีย
พายุเฮอริเคนรอสลิน
รายชื่อพายุ
รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2565[2] ถ้ามีชื่อที่ถูกถอนจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2566 ชื่อที่ไม่ถูกปลดจะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2571 โดยรายการนี้เป็นรายการเดียวกันกับที่เคยใช้ในฤดูกาล 2559
- แอกาทา
- บลัส
- ซีเลีย
- ดาร์บี
- เอสเทลล์
- แฟรงก์
- จอร์เจตต์
- ฮาวเวิร์ด
|
- อีเวตต์
- ฆาบิเอร์
- เคย์
- เลสเตอร์
- แมเดลิน
- นิวตัน
- ออร์ลีน
- เพน
|
- รอสลิน
- ซีมอร์ (ยังไม่ใช้)
- ทีนา (ยังไม่ใช้)
- เวอร์จิล (ยังไม่ใช้)
- วินิฟริด (ยังไม่ใช้)
- แซเวียร์ (ยังไม่ใช้)
- โยลันดา (ยังไม่ใช้)
- ซี๊ก (ยังไม่ใช้)
|
สำหรับพายุที่ก่อตัวภายในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเส้น 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล ชื่อที่จะใช้จะเป็นชื่อในชุดหมุนเวียนสี่ชุด[3]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น