ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2565
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2565 |
---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | ขอบเขตฤดูกาล |
---|
ระบบแรกก่อตัว | 5 มิถุนายน พ.ศ. 2565 |
---|
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 |
---|
พายุมีกำลังมากที่สุด |
---|
| ชื่อ | ฟีโอนา |
---|
• ลมแรงสูงสุด | 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
---|
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 932 มิลลิบาร์ (hPa; 27.52 inHg) |
---|
| สถิติฤดูกาล |
---|
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 16 ลูก |
---|
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 14 ลูก |
---|
พายุเฮอริเคน | 8 ลูก |
---|
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ (ระดับ 3 ขึ้นไป) | 2 ลูก |
---|
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | มากกว่า 337 คน |
---|
ความเสียหายทั้งหมด | > 12.0425 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 2022) |
---|
| ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก 2563, 2564, 2565, 2566, 2567 |
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2565 คือช่วงของฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในซีกโลกเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ฤดูกาลอย่างเป็นทางการนั้นเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565 และสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 วันเหล่านี้เป็นขอบระยะเวลาตามประวัติศาสตร์ที่จะมีพายุก่อตัวขึ้นมากที่สุดในแอ่งแอตแลนติก (กว่าร้อยละ 97)[1] ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC) จะออกออกภาพรวมลมฟ้าอากาศเขตร้อนทั่วไปในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2565[2] ซึ่งนับเป็นช่วงสองอาทิตย์ก่อนฤดูกาลจะเริ่มต้นขึ้น
พายุ
พายุโซนร้อนอเล็กซ์
พายุโซนร้อนบอนนี
พายุโซนร้อนคอลิน
พายุโซนร้อนคอลิน
พายุเฮอริเคนแดเนียลล์
พายุเฮอริเคนเอิร์ล
พายุเฮอริเคนฟีโอนา
พายุโซนร้อนแกสตัน
พายุเฮอริเคนเอียน
พายุโซนร้อนเฮอร์มีน
พายุดีเปรสชันเขตร้อนอีเลฟเวน
ช่วงตันของวันที่ 21 กันยายน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติได้เริ่มติดตามคลื่นอากาศในเขตร้อน (tropical wave) ที่มีความเป็นไปได้ในการพัฒนาตัวซึ่งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้เฉตะวันตกของหมู่เกาะกาบูเวร์ดี[3] ต่อมาคลื่นอากาศดังกล่าวได้ก่อตัวขึ้นเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันเดียวกันนั้น[4] แต่ความแปรปรวนนั้นยังคงจมตัวอยู่ภายในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศแห้งประกอบกับลมระดับบนที่ไม่เอื้ออำนวย และมีการจัดระบบเล็กน้อยจนถึงไม่มีเลยในช่วงหลายวันต่อมา ขณะที่ระบบอยู่บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง[5] จนวันที่ 26 กันยายน การพาความร้อนรอบหย่อมความกดอากาศต่ำเริ่มค่อย ๆ แสดงสัญญาณของการจัดระบบขึ้น[6] และในที่สุดก็ได้ก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนในวันที่ 28 กันยายน เวลา 15:00 UTC[7] แต่แม้จะมีการพาความร้อนระดับลึกขึ้นในชั่วข้ามคืน แต่ตัวพายุดีเปรสชันเขตร้อนก็ยังคงมีการจัดระบบที่ย่ำแย่ในวันที่ 29 กันยายน และเริ่มที่จะเสื่อมกำลังลง[8] ต่อมาในเวลา 21:00 UTC พายุได้สลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำที่หลงเหลือนอกเขตร้อน[9]
พายุดีเปรสชันเขตร้อนทเวล์ฟ
พายุเฮอริเคนจูเลีย
พายุโซนร้อนคาร์ล
พายุเฮอริเคนลีซา
พายุเฮอริเคนมาร์ติน
พายุเฮอริเคนนิโคล
รายชื่อพายุ
ชุดรายชื่อต่อไปนี้ใช้เป็นชื่อสำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือในปี พ.ศ. 2565 รายชื่อที่ไม่ถูกถอนจากรายการจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล 2571[10] โดยรายการรายชื่อนี้เป็นรายการเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล 2559 เว้นแต่ มาร์ติน และ โอเวน ซึ่งเป็นชื่อที่ถูกนำมาทดแทน แมตทิว และ ออตโต ซึ่งถูกถอนไปตามลำดับ[11]
- อเล็กซ์
- บอนนี
- คอลิน
- แดเนียลล์
- เอิร์ล
- ฟีโอนา
- แกสตัน
|
- เฮอร์มีน
- เอียน
- จูเลีย
- คาร์ล
- ลีซา
- มาร์ติน
- นิโคล
|
- โอเวน (ยังไม่ใช้)
- เปาลา (ยังไม่ใช้)
- ริชาร์ด (ยังไม่ใช้)
- แชรี (ยังไม่ใช้)
- โทไบอัส (ยังไม่ใช้)
- วีร์ฌีนี (ยังไม่ใช้)
- วอลเตอร์ (ยังไม่ใช้)
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "Hurricanes Frequently Asked Questions". Miami, Florida: NOAA Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. June 1, 2021. สืบค้นเมื่อ January 30, 2022.
- ↑ Bevin, Jack (November 30, 2021). Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 30, 2022.
- ↑ Beven, Jack (September 21, 2022). Two-Day Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 28, 2022.
- ↑ Brown, Daniel (September 21, 2022). Two-Day Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 28, 2022.
- ↑ Latto, Andrew (September 23, 2022). Two-Day Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 28, 2022.
- ↑ Papin, Philippe (September 26, 2022). Two-Day Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 28, 2022.
- ↑ Papin, Philippe (September 28, 2022). Tropical Depression Eleven Advisory Number 1 (Report) (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 28, 2022.
- ↑ Papin, Philippe (September 29, 2022). Tropical Depression Eleven Discussion Number 5 (Report) (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 29, 2022.
- ↑ Papin, Philippe (September 29, 2022). ost-Tropical Cyclone Eleven Advisory Number 6 (Report) (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 29, 2022.
- ↑ "Hurricane Names for the 2022 Hurricane Season". Dublin, New Hampshire: Yankee Publishing. December 6, 2021. สืบค้นเมื่อ February 5, 2022.
- ↑ "World Meteorological Organization retires storm names Matthew and Otto". Washington, D.C.: National Oceanic and Atmospheric Administration. March 27, 2017. สืบค้นเมื่อ February 5, 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
|
|