รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

  รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ
  ประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกสหประชาชาติที่ได้รับการรับรองจากสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ
  ได้รับการรับรองเฉพาะจากประเทศที่มิใช่สมาชิกสหประชาชาติ

การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย

มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว

หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน

รายชื่อ

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ

รัฐ ปีที่ประกาศ สถานะ อ้างสิทธิโดย ไม่ได้รับรองโดย หมายเหตุ
อิสราเอล รัฐอิสราเอล ค.ศ. 1948 รัฐอิสราเอลสถาปนาขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1948 และเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติตั้งแต่ ค.ศ. 1949  ซีเรีย อ้างสิทธิการปกครองเหนือบริเวณที่ราบสูงโกลัน
 ปาเลสไตน์ อ้างว่าตนคือรัฐบาลที่ถูกต้องของพื้นที่เวสต์แบงก์
 อัฟกานิสถาน
 แอลจีเรีย
 บังกลาเทศ
 บรูไน
 คอโมโรส
 คิวบา
 จิบูตี
 อินโดนีเซีย
 อิหร่าน
 อิรัก
 เกาหลีเหนือ
 คูเวต
 เลบานอน
 ลิเบีย
 มาเลเซีย
 มัลดีฟส์
 มาลี
 มอริเตเนีย
 ไนเจอร์
 โอมาน
 ปากีสถาน
 กาตาร์
 ซาอุดีอาระเบีย
 โซมาเลีย
 ซีเรีย
 ตูนิเซีย
 เวเนซุเอลา
 เยเมน
 เวสเทิร์นสะฮารา
[1][2]
เกาหลีใต้ สาธารณรัฐเกาหลี ค.ศ. 1948 สาธารณรัฐเกาหลีเป็นอิสรภาพจากสหรัฐตั้งแต่ ค.ศ. 1948 ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์สหประชาชาติใน ค.ศ. 1949 และเป็นรัฐสมาชิกตั้งแต่ ค.ศ. 1991  เกาหลีเหนือ อ้างว่าตนคือรัฐบาลที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของประเทศเกาหลี แต่เกาหลีใต้ควบคุมพื้นที่ทางภาคใต้ไว้  เกาหลีเหนือ [3][4]
เกาหลีเหนือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ค.ศ. 1948 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีเป็นอิสรภาพจากสหภาพโซเวียตตั้งแต่ ค.ศ. 1948 ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์สหประชาชาติใน ค.ศ. 1973 และเป็นรัฐสมาชิกตั้งแต่ ค.ศ. 1991  เกาหลีใต้ อ้างว่าตนคือรัฐบาลที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของประเทศเกาหลี แต่เกาหลีเหนือควบคุมพื้นที่ทางภาคเหนือไว้  บอตสวานา
 เอสโตเนีย
 ฝรั่งเศส
 อิสราเอล
 ญี่ปุ่น
 เกาหลีใต้
 สหรัฐอเมริกา
 นครรัฐวาติกัน
 ไต้หวัน
[5][6][7][5]
จีน สาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ. 1949 สาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1949 โดยถือว่าเป็นรัฐสืบทอดของสาธารณรัฐจีนภายหลังสงครามกลางเมืองจีน และเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติตั้งแต่ ค.ศ. 1971 มีการบังคับใช้นโยบายจีนเดียว  ไต้หวัน อ้างว่าตนคือรัฐบาลที่แท้จริงเพียงหนึ่งเดียวของประเทศจีน  เบลีซ
 ภูฏาน
 เอสวาตินี
 กัวเตมาลา
 เฮติ
 หมู่เกาะมาร์แชลล์
 ปาเลา
 ปารากวัย
 เซนต์คิตส์และเนวิส
 เซนต์ลูเชีย
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
 ตูวาลู
 นครรัฐวาติกัน
 ไต้หวัน
[8]
ไซปรัส สาธารณรัฐไซปรัส ค.ศ. 1960 สาธารณรัฐไซปรัสเป็นเอกราชจากจักรวรรดิบริติช และเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติตั้งแต่ ค.ศ. 1960  นอร์เทิร์นไซปรัส อ้างสิทธิการปกครองเหนือพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไซปรัส  ตุรกี
 นอร์เทิร์นไซปรัส
[9][10][11]
อาร์มีเนีย สาธารณรัฐอาร์เมเนีย ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐอาร์เมเนียเป็นเอกราชจากสหภาพโซเวียตตั้งแต่ ค.ศ. 1991 และเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติตั้งแต่ ค.ศ. 1992 ไม่มี  ปากีสถาน [12][13]

รัฐสังเกตการณ์สหประชาชาติ

รัฐ ปีที่ประกาศ สถานะ อ้างสิทธิโดย ไม่ได้รับรองโดย หมายเหตุ
รัฐปาเลสไตน์ รัฐปาเลสไตน์ ค.ศ. 1988 รัฐปาเลสไตน์สถาปนาขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1988 และได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์สหประชาชาติตั้งแต่ ค.ศ. 2012  อิสราเอล อ้างว่าพื้นที่ดินแดนปาเลสไตน์เป็นพื้นที่พิพาท  สหรัฐอเมริกา
 อันดอร์รา
 อาร์มีเนีย
 ออสเตรเลีย
 ออสเตรีย
 บาฮามาส
 บาร์เบโดส
 เบลเยียม
 บริเตนใหญ่
 แคเมอรูน
 แคนาดา
 โครเอเชีย
 เดนมาร์ก
 เอริเทรีย
 เอสโตเนีย
 ฟีจี
 ฟินแลนด์
 ฝรั่งเศส
 เยอรมนี
 กรีซ
 อิสราเอล
 อิตาลี
 จาเมกา
 ญี่ปุ่น
 คิริบาส
 เกาหลีใต้
 ลัตเวีย
 ลีชเทินชไตน์
 ลิทัวเนีย
 ลักเซมเบิร์ก
 เม็กซิโก
 หมู่เกาะมาร์แชลล์
 ไมโครนีเชีย
 โมนาโก
 พม่า
 นาอูรู
 เนเธอร์แลนด์
 นิวซีแลนด์
 มาซิโดเนียเหนือ
 ปานามา
 ปาเลา
 โปรตุเกส
 ซามัว
 ซานมารีโน
 สิงคโปร์
 สโลวีเนีย
 หมู่เกาะโซโลมอน
 สวิตเซอร์แลนด์
 ตองงา
 ตรินิแดดและโตเบโก
 ตูวาลู
 ไต้หวัน
[14][15]

รัฐที่มิใช่ทั้งสมาชิกและผู้สังเกตการณ์ซึ่งรับรองโดยสมาชิกสหประชาชาติ

รัฐ ปีที่ประกาศ สถานะ อ้างสิทธิเหนือ รับรองโดย หมายเหตุ
สาธารณรัฐจีน สาธารณรัฐจีน ค.ศ. 1912 สาธารณรัฐจีนสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1912 โดยถือเป็นรัฐสืบทอดของจักรวรรดิชิงภายหลังการปฏิวัติซินไฮ่ และได้เข้าเป็นรัฐสมาชิกผู้ก่อตั้งสหประชาชาติใน ค.ศ. 1945 ภายหลังได้แพ้ในสงครามกลางเมืองจีนจนถอยร่นไปยังเกาะไต้หวัน ท้ายที่สุดถูกถอนสมาชิกภาพสหประชาชาติใน ค.ศ. 1971 ปัจจุบันบังคับใช้หลักการจีนเดียว จีน พื้นที่ทั้งหมดของประเทศจีน (โดยเฉพาะบริเวณเกาะไต้หวันและพื้นที่โดยรอบ)  เบลีซ
 เอสวาตินี
 กัวเตมาลา
 เฮติ
 หมู่เกาะมาร์แชลล์
 ปาเลา
 ปารากวัย
 เซนต์คิตส์และเนวิส
 เซนต์ลูเชีย
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
 ตูวาลู
 นครรัฐวาติกัน
 โซมาลีแลนด์
[16]
เวสเทิร์นสะฮารา สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ค.ศ. 1976 สาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1976 หลังจากสเปนถอนกำลังออกไป ดินแดนสะฮาราตะวันตก (ปัจจุบันประเทศโมร็อกโกยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของดินแดนนี้  แอลจีเรีย
 แองโกลา
 เบลีซ
 โบลิเวีย
 บอตสวานา
 กัมพูชา
 โคลอมเบีย
 คอสตาริกา
 คิวบา
 เอกวาดอร์
 เอธิโอเปีย
 กานา
 กายอานา
 ฮอนดูรัส
 อิหร่าน
 เคนยา
 เกาหลีเหนือ
 ลาว
 เลโซโท
 ไลบีเรีย
 ลิเบีย
 มาลี
 มอริเตเนีย
 มอริเชียส
 เม็กซิโก
 โมซัมบิก
 นามิเบีย
 นิการากัว
 ไนจีเรีย
 ปานามา
 เปรู
 รวันดา
 เซียร์ราลีโอน
 แอฟริกาใต้
 ซูดานใต้
 ซีเรีย
 แทนซาเนีย
 ติมอร์-เลสเต
 ตรินิแดดและโตเบโก
 ยูกันดา
 อุรุกวัย
 วานูวาตู
 เวเนซุเอลา
 เวียดนาม
 เยเมน
 ซิมบับเว
 เซาท์ออสซีเชีย
[17]
นอร์เทิร์นไซปรัส สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ ค.ศ. 1983 สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1983 โดยแยกตัวออกจากประเทศไซปรัสภายหลังการรุกรานไซปรัสของตุรกี ไซปรัส พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไซปรัส  ตุรกี [18]
เซาท์ออสซีเชีย สาธารณรัฐออสซีเชียใต้–รัฐอาลาเนีย ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐออสซีเชียใต้–รัฐอาลาเนียสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1991 โดยแยกตัวออกจากประเทศจอร์เจียภายหลังความขัดแย้งจอร์เจีย-ออสซีเซีย ประเทศจอร์เจีย พื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศจอร์เจีย  นาอูรู
 นิการากัว
 รัสเซีย
 ซีเรีย
 เวเนซุเอลา
 อับฮาเซีย
 เวสเทิร์นสะฮารา
 ทรานส์นีสเตรีย
[19][20][21][22]
อับฮาเซีย สาธารณรัฐอับฮาเซีย ค.ศ. 1999 สาธารณรัฐอับฮาเซียสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1999 โดยแยกตัวออกจากประเทศจอร์เจียภายหลังความขัดแย้งอับฮาเซีย-จอร์เจีย ประเทศจอร์เจีย สาธารณรัฐปกครองตนเองอับฮาเซีย ประเทศจอร์เจีย  นาอูรู
 นิการากัว
 รัสเซีย
 ซีเรีย
 เวเนซุเอลา
 เซาท์ออสซีเชีย
 ทรานส์นีสเตรีย
[23][19][20][22]
คอซอวอ สาธารณรัฐคอซอวอ ค.ศ. 2008 สาธารณรัฐคอซอวอสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 2008 โดยแยกตัวออกจากประเทศเซอร์เบียภายหลังสงครามคอซอวอ เซอร์เบีย จังหวัดปกครองตนเองคอซอวอและเมโทฮียา ประเทศเซอร์เบีย  สหรัฐอเมริกา
 อันดอร์รา
 แอนทีกาและบาร์บิวดา
 อัฟกานิสถาน
 แอลเบเนีย
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
 ออสเตรีย
 ออสเตรเลีย
 บาห์เรน
 บังกลาเทศ
 บาร์เบโดส
 เบลเยียม
 เบลีซ
 เบนิน
 บรูไน
 บูร์กินาฟาโซ
 บัลแกเรีย
 แคนาดา
 ชาด
 โคลอมเบีย
 คอสตาริกา
 โครเอเชีย
 เช็กเกีย
 เดนมาร์ก
 จิบูตี
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
 อียิปต์
 เอลซัลวาดอร์
 เอสโตเนีย
 เอสวาตินี
 ฟีจี
 ฟินแลนด์
 ฝรั่งเศส
 กาบอง
 แกมเบีย
 เยอรมนี
 บริเตนใหญ่
 กินี
 กินี-บิสเซา
 กายอานา
 เฮติ
 ฮอนดูรัส
 ฮังการี
 ไอซ์แลนด์
 ไอร์แลนด์
 อิสราเอล
 อิตาลี
 โกตดิวัวร์
 ญี่ปุ่น
 จอร์แดน
 คิริบาส
 เกาหลีใต้
 คูเวต
 ลัตเวีย
 ไลบีเรีย
 ลิเบีย
 ลีชเทินชไตน์
 ลิทัวเนีย
 ลักเซมเบิร์ก
 มาเลเซีย
 มาลาวี
 มัลดีฟส์
 มอลตา
 หมู่เกาะมาร์แชลล์
 ไมโครนีเชีย
 โมนาโก
 มอนเตเนโกร
 มอริเตเนีย
 เนเธอร์แลนด์
 นิวซีแลนด์
 ไนเจอร์
 มาซิโดเนียเหนือ
 นอร์เวย์
 ปากีสถาน
 ปานามา
 เปรู
 โปแลนด์
 โปรตุเกส
 กาตาร์
 เซนต์คิตส์และเนวิส
 เซนต์ลูเชีย
 ซานมารีโน
 ซามัว
 ซาอุดีอาระเบีย
 สิงคโปร์
 สโลวีเนีย
 โซมาเลีย
 สวีเดน
 สวิตเซอร์แลนด์
 แทนซาเนีย
 ไทย
 ติมอร์-เลสเต
 ตูวาลู
 วานูวาตู
 เยเมน
 ไต้หวัน
[24][25]

รัฐที่มิใช่ทั้งสมาชิกและผู้สังเกตการณ์ซึ่งไม่ได้รับรองโดยสมาชิกสหประชาชาติ

รัฐ ปีที่ประกาศ สถานะ อ้างสิทธิเหนือ รับรองโดย หมายเหตุ
ทรานส์นีสเตรีย สาธารณรัฐมอลเดเวียพรีดเนสโตรวี ค.ศ. 1990 สาธารณรัฐมอลเดเวียพรีดเนสโตรวีสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1990 โดยแยกตัวออกจากสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวียภายหลังสงครามทรานส์นีสเตรีย มอลโดวา เขตปกครองตนเองทรานส์นีสเตรีย ประเทศมอลโดวา  อับฮาเซีย
 เซาท์ออสซีเชีย
[26]
โซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐโซมาลีแลนด์ ค.ศ. 1991 สาธารณรัฐโซมาลีแลนด์สถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1991 โดยแยกตัวออกจากประเทศโซมาเลียภายหลังสงครามกลางเมืองโซมาเลีย โซมาเลีย พื้นที่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศโซมาเลีย  ไต้หวัน [27]

หมายเหตุ

ไม่รวมรายการดังต่อไปนี้ไว้ในรายชื่อ

  • คณะเสนาธิปัตย์แห่งมอลตา ปัจจุบันมิใช่รัฐอธิปไตยซึ่งมีดินแดนในปกครอง แต่เป็นองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับ 110 รัฐสมาชิกสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ และได้รับสถานะองค์กรผู้สังเกตการณ์ถาวรประจำสหประชาชาติ
  • กลุ่มชุมชนหรือชนเผ่าที่ไม่เป็นที่รู้จักและไม่สามารถกำหนดสถานะที่ชัดเจนได้
  • เขตการปกครองในประเทศต่าง ๆ ซึ่งเป็นอิสระโดยพฤตินัย โดยรัฐบาลกลางมีบทบาทไม่มากก็น้อยในพื้นที่นั้น และไม่ได้มีการประกาศอิสรภาพอย่างชัดเจน
  • ประเทศจำลอง แม้ว่าจะมีการประกาศอิสรภาพที่ชัดเจนและอ้างว่ามีอธิปไตยสมบูรณ์ แต่แตกต่างจากขบวนการแบ่งแยกดินแดนเป็นอย่างมาก ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐชาติหรือองค์การระหว่างประเทศใด ๆ และเป็นที่กังขาว่าสามารถรักษาอธิปไตยที่ตนอ้างไว้ได้หรือไม่
  • ดินแดนที่อยู่ในภาวะสงครามกลางเมืองหรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการสืบทอดตำแหน่งรัฐบาล โดยที่ความขัดแย้งเพิ่งเกิดขึ้นไม่นานหรือไม่มีเสถียรภาพมากพอที่จะสามารถกำเนิดรัฐได้
  • กลุ่มกบฏที่ประกาศเอกราชและควบคุมพื้นที่บางส่วน ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ แม้ว่าจะได้รับการรับรองบางส่วนในระดับสากลก็ตาม
  • รัฐบาลพลัดถิ่นและขบวนการเรียกร้องดินแดน ซึ่งไม่ถือว่ามีอำนาจอธิปไตยที่ครบถ้วน
  • รัฐสมาชิกสหประชาชาติที่สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตช้าจึงไม่ได้รับการรับรองอย่างชัดเจน แต่มิได้มีข้อพิพาทหรือข้อขัดแย้งต่อกัน

อ้างอิง

  1. Government of Israel (1948-05-14). "Declaration of Israel's Independence 1948". Yale University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-13. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-27. สืบค้นเมื่อ 2009-09-19.
  3. US Library of Congress (2000-10-07). "World War II and Korea". Country Studies. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  4. Sterngold, James (1994-09-03). "China, Backing North Korea, Quits Armistice Commission". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-02-29.
  5. 5.0 5.1 "Treaty on Basic Relations between Japan and the Republic of Korea". สืบค้นเมื่อ 2008-10-27.
  6. "Declaration of Independence". TIME. 1966-08-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-11-06. สืบค้นเมื่อ 2008-02-29. {{cite web}}: ข้อความ "author" ถูกละเว้น (help)
  7. Scofield, David (2005-01-04). "Seoul's double-talk on reunification". Asia Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-19. สืบค้นเมื่อ 2008-02-29.
  8. "Constitution of the People's Republic of China". International Human Rights Treaties and Documents Database. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-25. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  9. CIA World Factbook (2008-02-28). "Cyprus". Central Intelligence Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  10. "Cyprus exists without Turkey's recognition: president". XINHUA. 2005-10-01. สืบค้นเมื่อ 2008-03-07.
  11. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-29. สืบค้นเมื่อ 2009-09-19.
  12. Pakistan Worldview - Report 21 - Visit to Azerbaijan เก็บถาวร 2009-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Senate of Pakistan - Senate foreign relations committee, 2008
  13. Nilufer Bakhtiyar: "For Azerbaijan Pakistan does not recognize Armenia as a country" 13 September 2006 [14:03] - Today.Az
  14. "3.10 - How many countries recognize Palestine as a state?". Institute for Middle East Understanding. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-13. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  15. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-04. สืบค้นเมื่อ 2006-04-04.
  16. Lewis, Joe (2002-08-04). "Taiwan Independence". Digital Freedom Network. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1998-12-02. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  17. Sahrawi Arab Democratic Republic (1976-02-27). "Sahrawi Arab Democratic Republic". Western Sahara Online. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-29. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  18. Hadar, Leon (2005-11-16). "In Praise of 'Virtual States'". AntiWar. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  19. 19.0 19.1 Russia recognises Georgian rebels - BBC, 2008-08-26[1]
  20. 20.0 20.1 "Venezuela's Chavez draws closer to Moscow". Washington Post. 2009-09-10. สืบค้นเมื่อ 2009-09-10.[ลิงก์เสีย]
  21. Stojanovic, Srdjan (2003-09-23). "OCHA Situation Report". Center for International Disaster Information. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  22. 22.0 22.1 "South Ossetia opens embassy in Abkhazia The Tiraspol Times". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-22. สืบค้นเมื่อ 2009-09-19.
  23. Clogg, Rachel (2001). "Abkhazia: Ten Years On". Conciliation Resources. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-05. สืบค้นเมื่อ 2008-02-26.
  24. "Kosovo MPs proclaim independence". BBC News. 2008-02-17. สืบค้นเมื่อ 2008-02-28.
  25. http://www.unmikonline.org/press/reports/N9917289.pdf
  26. "Abkhazia: Ten Years On". BBC 2. 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-19. สืบค้นเมื่อ 2008-06-16.
  27. BBC Country Profiles: Regions and territories: Somaliland, accessed 14 September 2009

ดูเพิ่ม

Read other articles:

Hari Lingkungan Hidup SeduniaNama resmiHari Lingkungan Hidup Sedunia PBBNama lainHari Lingkungan HidupDirayakan olehSeluruh duniaJenisInternasionalMaknaTanggal ini diperingati untuk menciptakan kesadaran global tentang masalah lingkungan hidup yang dihadapi dunia atau negara tertentu.Tanggal5 JuniFrekuensisetiap tahunPertama kali5 Juni 1974Terkait denganLingkungan, Pencemaran Hari Lingkungan Hidup Sedunia diperingati setiap tahun pada tanggal 5 Juni demi meningkatkan kesadaran global akan keb...

 

Yehezkiel 20Kitab Yehezkiel 30:13–18 pada suatu naskah bahasa Inggris dari awal abad ke-13, MS. Bodl. Or. 62, fol. 59a. Teks bahasa Ibrani disalin sebagaimana dalam kodeks bahasa Latin. Terjemahan bahasa Latin ditulis di bagian marjin.KitabKitab YehezkielKategoriNevi'imBagian Alkitab KristenPerjanjian LamaUrutan dalamKitab Kristen26← pasal 19 pasal 21 → Yehezkiel 20 (disingkat Yeh 20) adalah bagian dari Kitab Yehezkiel dalam Alkitab Ibrani dan Perjanjian Lama di Alkitab Kristen....

 

この項目では、サンリオのキャラクターについて説明しています。シナモンを使った焼き菓子については「シナモンロール」をご覧ください。 シナモロール[注釈 1]Cinnamoroll バンダイ本社前に設置されている立体像モチーフ イヌ発売年 2001年デザイナー 奥村心雪キャラクター大賞順位 1位(第32回~第33回、第35回~第38回)いちご新聞初見 2002年6月号(412号)愛称 シ...

Stregheria Fundador(es) AradiaDeidad o deidades principales Lucifer (dios latino) y AradiaTipo Brujería italianaSeguidores conocidos como Stregas (mujeres) Stregones (hombres)Escrituras sagradas Aradia, o il Vangelo delle StregheLengua litúrgica ItalianoPaís o región de origen ItaliaPaís con mayor cantidad de seguidores Italia con comunidades en la diáspora italianaClero Stregone (masculino) y strega (femenino)Comunidades CírculosReligiones relacionadas Brujería[editar datos en W...

 

Seorang tahanan perang Jerman yang sedang diinterogasi oleh dua orang tentara Inggris, lukisan Francis Dodd, tahun 1919. Interogasi adalah pemeriksaan terhadap seseorang melalui pertanyaan lisan, biasanya banyak dilakukan oleh pihak kepolisian untuk membantu memudahkan dalam proses pemeriksaan.[1] Tidak sedikit interogasi yang dalam prakteknya menggunakan teknik kekerasan dengan tujuan untuk mendapatkan informasi dari tersangka.[2] Interogasi merupakan metode hukum untuk mengu...

 

  لمعانٍ أخرى، طالع تيم كيلي (توضيح). هذه المقالة يتيمة إذ تصل إليها مقالات أخرى قليلة جدًا. فضلًا، ساعد بإضافة وصلة إليها في مقالات متعلقة بها. (يوليو 2019) تيم كيلي   معلومات شخصية الميلاد 26 يوليو 1994 (29 سنة)  مواطنة أستراليا  الحياة العملية المهنة لاعب كرة قدم أسترال

Celso Piña Información personalApodo El rebelde del acordeón y El cacique de la campana Nacimiento 6 de abril de 1953 Monterrey (México) Fallecimiento 21 de agosto de 2019 (66 años)Monterrey (México) Causa de muerte Infarto agudo de miocardioNacionalidad MexicanaInformación profesionalOcupación Cantante Años activo 1970-2019Género Cumbia Instrumentos Acordeón, vozArtistas relacionados Julieta Venegas, El Gran Silencio, King Changó, Café Tacvba, Pato Machete, Toy Selectah, Grupo L...

 

دوار النقلة تقسيم إداري البلد المغرب  الجهة فاس مكناس الإقليم تاونات الدائرة غفساي الجماعة القروية ودكة المشيخة النقلة السكان التعداد السكاني 2042 نسمة (إحصاء 2004)   • عدد الأسر 383 معلومات أخرى التوقيت ت ع م±00:00 (توقيت قياسي)[1]،  وت ع م+01:00 (توقيت صيفي)[1]  تعديل م

 

Les chrétiens d'Iran représentent entre 0,4 et 0,8 % de la population du pays. C'est une des plus anciennes communautés chrétiennes du Proche-et-Moyen-Orient, puisque l'Église de Perse aurait été fondée par l'apôtre Thomas. En 2004 un député arménien d'Iran estimait à 250 000 chrétiens sur 70 millions d'habitants, Le Figaro mentionne d'après ses sources une présence de 180 000 chrétiens soit un taux de 0,26 % de la population. Selon d'autres sources, 120&#...

وارومبونغلمعلومات عامةالبلد  أستراليا المكان نيوساوث ويلز الجغرافياالإحداثيات 31°12′S 148°54′E / 31.2°S 148.9°E / -31.2; 148.9 الارتفاع 1٬206 متر علم الأرضالنوع سلسلة جبلية تعديل - تعديل مصدري - تعديل ويكي بيانات وارومبونغل، (بالإنجليزية: Warrumbungles)‏ هي سلسلة جبلية في منطقة أ...

 

Connor Territorio no organizado ConnorUbicación en el condado de Aroostook en Maine Ubicación de Maine en EE. UU.Coordenadas 47°N 68°O / 47, -68Entidad Territorio no organizado • País  Estados Unidos • Estado  Maine • Condado AroostookSuperficie   • Total 102.12 km² • Tierra 101.89 km² • Agua (0.22%) 0.22 km²Altitud   • Media 228 m s. n. m.Población (2010)   • Total 457 hab...

 

Overview of communism in Nepal Part of a series onCommunism Concepts Anti-capitalism Class conflict Class consciousness Classless society Collective leadership Communist party Communist revolution Communist state Commune Communist society Critique of political economy Free association From each according to his ability,to each according to his needs Market abolitionism Proletarian internationalism Labour movement Social revolution Stateless society Wage slavery Workers' self-management World ...

Soundtrack to the 2023 musical romantic comedy television series Grease: Rise of the Pink Ladies (Original Soundtrack)Soundtrack album by various artistsReleasedJune 1, 2023GenrePoprockrhythm and bluesLength82:06LabelCapitolProducerEren CannataDaniel CreanSingles from Grease: Rise of the Pink Ladies (Original Soundtrack) Grease Is the WordReleased: March 10, 2023 New CoolReleased: March 31, 2023 Grease: Rise of the Pink Ladies (Original Soundtrack) is the soundtrack to the musical romanti...

 

Theme of inevitable decline in J. R. R. Tolkien's fiction J. R. R. Tolkien built a process of decline and fall in Middle-earth into both The Silmarillion and The Lord of the Rings. The pattern is expressed in several ways, including the splintering of the light provided by the Creator, Eru Iluvatar, into progressively smaller parts; the fragmentation of languages and peoples, especially the Elves, who are split into many groups; the successive falls, starting with that of the angelic spirit M...

 

Список ультра-піків Південно-Східної Азії — це список всіх 42-ох «ультра-піків»[1] материкової частини Південно-Східної Азії з відносною висотою вершини 1500 м і більше. Список включає відносно невисокі вершини з максимальною абсолютною висотою до 3500-4500 м. У спи...

Wappen von Bretzenheim Wappen von Mainz Bretzenheim Ortsbezirk von Mainz Lage von Bretzenheim in Mainz Koordinaten 49° 58′ 50″ N, 8° 14′ 30″ O49.9805555555568.2416666666667121Koordinaten: 49° 58′ 50″ N, 8° 14′ 30″ O Höhe 121 m ü. NHN Fläche 10,651 km² Einwohner 19.738 (31. Dez. 2022) Bevölkerungsdichte 1853 Einwohner/km² Ausländeranteil 15,6 % (31. Dez. 2022) Eingemeindung...

 

Sailing ship; site of 1961 mass murder Not to be confused with Bluebell (1906 ship). The Bluebelle, circa 1960 History NameBluebelle OwnerHarold Pegg Port of registry United States Launched1928. Sturgeon Bay, Wisconsin[1] Out of serviceNovember 12, 1961 HomeportBahia Mar Marina FateScuttled November 12, 1961 General characteristics TypeKetch Length60-foot (18 m) Installed power115-hp[2] ComplementArthur Duperrault† (40), Jean Duperrault† (38), Brian Duperrault† (14)...

 

Secretary of the League of Communists of YugoslaviaSekretar Predsjedništva Centralnog komiteta Saveza komunista Jugoslavije (Serbo-Croatian)Emblem of the LCYLongest servingStane Dolanc27 January 1972 – 15 May 1979SeatUšće Towers, BelgradeAppointerCentral CommitteeFormation4 October 1966First holderMijalko TodorovićFinal holderPetar Škundrić(acting)Abolished27 May 1990 The secretary of the Presidency of the Central Committee of the League of Communists of Yugoslavia (LCY) was the ...

Something in the RainPoster promosiNama alternatifPretty Noona Who Buys Me FoodPretty Sister Who Treats Me to MealsHangul밥 잘 사주는 예쁜 누나 GenreRomansaPembuatJTBCDitulis olehKim EunSutradaraAhn Pan-seokPemeranSon Ye-jinJung Hae-inNegara asalKorea SelatanBahasa asliKoreaJmlh. episode16ProduksiProduser eksekutifChoi Kwan-yongMa Jung-hoonPark Joon-seoPengaturan kameraKamera tunggalRumah produksiDrama House [ko]Content KDistributorJTBCNetflix (internasional)RilisJaringa...

 

Senior military college Canada This article contains content that is written like an advertisement. Please help improve it by removing promotional content and inappropriate external links, and by adding encyclopedic content written from a neutral point of view. (September 2013) (Learn how and when to remove this template message) Canadian Forces CollegeEntry gates to the CFC campusTypeStaff collegeEstablished1943 (as the Royal Canadian Air Force War Staff College)LocationToronto, Ontario, Can...

 

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!