พลังงานฟิวชัน

การทดลองฟิชชั่นแบบแม่เหล็ก Joint European Torus (JET) ในปี 1991

พลังงานฟิวชัน (อังกฤษ: Fusion power) คือพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ปฏิกิริยาชนิดนี้เกิดจากการที่นิวเคลียสของอะตอมธาตุเบาหลอมตัวเข้าด้วยกัน และได้นิวเคลียสที่หนักกว่าเดิมและมีเสถียรภาพมากขึ้น มวลของธาตุเบาที่รวมกันจะหายไปเล็กน้อยซึ่งส่วนที่หายไปนั้นเองได้เปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานตามสมการ กระบวนการนี้ได้ปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา

พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่แผ่ออกไปในระบบสุริยะเกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดนี้ ซึ่งต้องอาศัยความร้อนที่อุณหภูมิสูงนับล้านองศาเซลเซียส และมาจากการรวมนิวเคลียสของไฮโดรเจน 2 อะตอม ได้เป็นฮีเลียม 1 อะตอม โดยเกิดขึ้นบริเวณแกนกลางของดวงอาทิตย์

มนุษย์พยายามที่จะสร้างพลังงานนี้โดยการรวมไฮโดรเจน 2 อะตอม (ดิวเทอเรียมกับทริเทียม)เป็นฮีเลียม 1 อะตอม โดยพลังงานต่อมวลของปฏิกิริยานี้มากกว่ากระบวนการฟิชชันมาก อีกทั้งผลิตผลจากปฏิกิริยานี้จะไม่เป็นสารกัมมันตรังสี

การทดลองที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบันคือการทดลองที่ Joint European Torus (JET) ปี ค.ศ. 1997 JET ได้สร้างพลังงานฟิวชั่นขึ้นได้ขนาด 16.1 เมกกะวัตต์ (65% ของพลังงานที่ใส่เข้าไป) โดยที่สามารถรักษาระดับพลังงานฟิวชั่นสูงกว่า 10 เมกกะวัตต์ได้นานกว่า 0.5 วินาที

หลักการทำงาน

พลังงานยึดเหนี่ยวสำหรับนิวเคลียสของอะตอมที่แตกต่างกัน Iron-56 มีพลังงานสูงสุดทำให้มีความเสถียรสูงสุด, นิวเคลียสที่อยู่ทางซ้ายของ Iron-56 มักจะปลดปล่อยพลังงานเมื่อรวมตัว (ฟิวชั่น); ส่วนที่อยู่ทางขวามักจะไม่เสถียรและปลดปล่อพลังงานเมื่อเกิดการแยกกัน  (ฟิชชั่น)

ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นเกิดขึ้นเมื่อนิวเคลียสของอะตอมสองตัวหรือมากกว่า เข้ามาใกล้กันมากพอจนทำให้ แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม (Strong interaction) ดึงมันเข้าด้วยกัน มากกว่าที่ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic interaction) จะผลักมันออกจากกัน ทำให้นิวเคลียสรวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่ใหญ่กว่า และการรวมตัวนี้จะปลดปล่อยพลังงานออกมาหากนิวเคลียสเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า Iron-56 (หากเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า Iron-56 จะต้องแยกนิวเคลียสออกจากกันเพื่อปลดปล่อยพลังงาน เรียกกว่าปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิชชั่น)

แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม นั้นมีผลในระยะทางที่สั้นมากๆ (ระดับ femtometer) ในขณะที่แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีผลในระยะที่ไกลกว่า ในการที่จะเกิดฟิวชั่นได้อะตอมที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงต้องได้รับพลังงานจลน์มากพอที่จะก้าวข้ามกำแพงคูลอมบ์ วิธีที่จะได้พลังงานจลน์มากพอเช่น เครื่องเร่งอนุภาคหรือการให้ความร้อนจนอุณหภูมิสูง

ต่อให้มีการให้ความร้อนจนอุณหภูมิสูงแล้ว โอกาสที่เชื้อเพลิงจะเกิดฟิวชั่นก็ยังน้อยมากเนื่องจากโอกาสที่นิวเคลียสจะกระจัดกระจายกันนั้นมากกว่า ฉะนั้นเชื้อเพลิงจึงต้องถูกตรึงให้อยู่ใกล้กันให้นานมากเกินพอ เพื่อให้นิวเคลียสมีโอกาสชนเข้ากับนิวเคลียสอื่น นอกจากนี้การเพิ่มความหนาแน่นให้กับเชื้อเพลิงก็เพิ่มโอกาสเกิดฟิวชั่นได้เนื่องจากนิวเคลียสจะชนกันมากขึ้นในเวลาที่น้อยลง โดยสรุปการจะเกิดฟิวชั่นได้ต้องมีการรวมกันของสามปัจจัยคือ พลังงาน (อุณหภูมิ) ความหนาแน่นของเชื้อเพลิง และ เวลาในการตรึงเชื้อเพลิง

เมื่ออะตอมได้รับความร้อนจนทำให้มีพลังงานมากกว่าพลังงาน  Ionization อิเล็กตรอนจะหลุดออกจากอะตอมเหลือแค่นิวเคลียสของมันทิ้งไว้ กระบวนการนี้เรียกว่ากระบวนการ Ionization และนิวเคลียสเปล่าที่เหลืออยู่เรียกกว่าไอออน ผลของกระบวนการนี้ทำให้เกิดกลุ่มก้อนของไอออน และอิเล็กตรอนอิสระที่เรียกว่า พลาสม่า ซึ่งพลาสม่านั้นควบคุมได้ด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่นหลายแบบจึงใช้ความสามารถในการควบคุมพลาสม่าด้วยแม่เหล็กนี้ในการตรึงอนุภาคไว้ในขณะที่ให้ความร้อน

ในปัจจุบัน เทคนิคการสร้างฟิวชชั่นมีสองแบบใหญ่ๆ คือ แบบ Magnetic confinement ซึ่งเป็นการสร้างพลาสม่าและตรึงไว้ในแบบที่กล่าวไปข้างต้น และ แบบ Inertial confinement ซึ่งเป็นการใช้เลเซอร์ในการบีบอัดและให้ความร้อนกับเชื้อเพลิง ซึ่งเทคนิคที่มีการระดมทุนและดูเป็นไปได้มากที่สุดในตอนนี้คือ Magnetic confinement ในรูปแบบที่เรียกว่า Tokamak ซึ่งเป็นการตรึงพลาสม่าไว้ในรูปทรงที่เรียกว่า Torus แต่ในตอนนี้ยังไม่มีเตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นไม่ว่าจะใช้เทคนิคหรือประเภทไหนที่สามารถผลิตพลังงานได้มากกว่าพลังงานไฟฟ้าที่ใส่เข้าไป

อันตราย

เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นเมื่อพังจะไม่เกิดอันตรายคล้ายกับฟิชชั่น[1] เนื่องจากเตาฟิวชั่นจะสร้างฟิวชั่นได้นั้นต้องใช้อุณภูมิ ความดันและสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แม่นยำสูงมาก อุปกรณใดๆก็ตามที่สูญเสียการควบคุมจะทำให้ปฏิกิริยาฟิวชั่นหยุดการทำงานทันที[2]

พลาสม่าในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นมีเชื้อเพลิงอยู่แค่ไม่กี่กรัม[3] เมื่อเทียบกับเตาฟิชชั่นซึ่งมีเชื้อเพลิงเพียงพอสำหรับก่อฟิชชั่นได้เป็นเดือนหรือปีโดยที่ไม่ต้องเติมเชื้อเพลิงเพิ่ม และเชื้อเพลิงที่มากนี้ทำให้เมื่อโรงงานฟิชชั่นเกิดอุบติเหตุจะเกิดการหลอมเหลวของเตาขึ้นและเป็นอันตรายมาก[4]

เตาฟิวชั่นแบบ Magnetic containment มีสนามแม่เหล็กอย่างเข้มในขดลวดที่ตรึงไว้กับโครงสร้างของเตาปฏิกรณ์ หากโครงสร้างนี้พังลงอาจเกิดการปลดปล่อยความเครียดสูง (Tension) จนเกิดการระเบิดของแม่เหล็กออกมาข้างนอก คล้ายกับอุบัติเหตุการระเบิดของเครื่อง MRI แต่ก็สามารถป้องกันได้หากเตาฟิวชั่นอยู่ในอาคารกักกันคล้ายกับของฟิชชั่น

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

เตาฟิวชั่นสร้างกัมมันตภาพรังสีน้อยกว่าฟิชชั่นมากๆ เตาฟิชชั่นนั้นสร้างกัมมันตภาพรังสีซึ่งปลดปล่อยรังสีเป็นพันๆปีในขณะที่กัมมันตภาพรังสีจากฟิวชั่นนั้นคือตัวแกนของเตาเท่านั้นและส่วนใหญ่จะปล่อยกัมมันตรังสีเพียงแค่ 50 ปี

ชนิดของเชื้อเพลิง

ฟิวชั่นของดิวเทอเรียมและทริเทียมเกิดเป็นฮีเลียม-4,ปลดปล่อยนิวตรอนและพลังงาน 17.59 MeVออกมาเป็นพลังงานจลน์ซึ่งได้มาจากมวลที่หายไปตามสมการ E = ∆mc2

เชื้อเพลิงที่ใช้ในเตานิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นส่วนใหญ่จะเป็นธาตุเบา เช่น ไอโซโทปของไฮโดรเจนอย่างโปรเทียม หรือ ดิวเทอเรียมและทริเทียม ปฏิกิริยาของดิวเทอเรียมและฮีเลียม-3 ต้องการฮีเลียม-3 ซึ่งเป็นไอโซโทปของฮีเลียมที่หายากในโลกมาก จนจำเป็นที่จะต้องไปขุดที่นอกโลกเช่นผิวของดวงจันทร์ หรือไม่ก็สร้างขึ้นมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์อื่นๆ นักวิจัยจึงพยายามที่จะทำปฏิกิริยาระหว่างโปรเทียมและโบรอน-11 เนื่องจากเป็นปฏิกิริยาที่ไม่ผลิตนิวตรอนโดยตรง ปัจจุบันปฏิกิริยาที่สร้างง่ายที่สุดคือของดิวเทอเรียมและทริเทียมเพียงแต่มีข้อเสียคือทริเทียมอาจหลุดและส่งผลต่อสภาพแวดล้อมได้

กำลังการผลิต

หนึ่งกิโลกรัมของเชื้อเพลิงฟิวชั่นสามารถให้พลังงานได้เทียบกับเชื้อเพลิงฟอสซิล 10 ล้านกิโลกรัม

ข้อดีและข้อเสีย

ข้อดี

ให้พลังงานสูง - พลังงานที่ได้จากนิวเคลียร์ฟิวชั่น นั้นมากกว่าพลังงานที่ได้จากการเผาฟอสซิลถึง 10 ล้านเท่า ทำให้เชื้อเพลิงที่ต้องการในโรงงานนิวเคลียร์นั้นน้อยกว่า เชื้อเพลิงในโรงงานไฟฟ้าปกติมาก

แหล่งเชื้อเพลิงที่ยั้งยืน - เชื้อเพลิงหลักของนิวเคลียร์ฟิวชั่นคือ deuterium ซึ่งหาได้มากจากมหาสมุทร หรือแม้แต่ส่วนประกอบอื่นๆก็สามารถสร้างหรือหาได้ง่าย

ค่าใช้จ่ายน้อย - หากทำสำเร็จ มีการประมาณการไว้ว่าพลังงานจากนิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นจะมีค่าประมาณ 0.03 USD ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ทำให้นิวเคลียร์ฟิวชั่นจะเป็นแหล่งพลังงานที่ถูกที่สุดที่มนุษย์เคยค้นพบ

มีความเสี่ยงต่ำ - โรงงานนิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นหากเกิดการผิดพลาดเกิดขึ้น พลาสม่าในเตาปฏิกรณ์จะดับลงไป และปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นจะหยุดลงเองโดยไม่ก่อความเสียหายใดๆ นอกจากนี้โรงงานฟิวชั่นยังไม่ปล่อยกัมมันตรังสีรุนแรงเหมือนของฟิชชั่นอีกด้วย

ข้อเสีย

โรงงานมีค่าใช้จ่ายสูง - พลังงานที่ได้จากฟิวชั่นอาจราคาแค่ 0.03 USD ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง แต่นั้นยังไม่ได้รวมถึงค่าก่อสร้างที่จำเป็นในการสร้าง infrastructure ต่างๆที่จำเป็นในการสร้างโรงงานฟิวชั่น การลุงทุนสร้างโรงงานอาจใช้งบประมาณมากถึงล้านล้านดอลล่าหากต้องการใช้ในระดับ Global

ใช้พลังงานสูง - พลังงานที่ใช้ในการรวมกันของอะตอมนั้นสูงมาก พลังงานที่ได้จากฟิวชั่นนั้นมากกว่าพลังงานที่ใช้ในการเกิดฟิวชั่นไปนิดเดียว และด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันการทำให้ได้พลังงานมากกว่าที่ใส่เข้าไปก็ยังเป็นไปไม่ได้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. McCracken, G. M. (2013). Fusion : the energy of the universe. P. E. Stott (2nd ed.). Waltham, MA: Academic Press. ISBN 978-0-12-384656-3. OCLC 784573591.
  2. Berry, Jan (2012-02-01). "ITER TCWS Conceptual Design Chit Resolution Report". {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  3. McCracken, G. M. (2013). Fusion : the energy of the universe. P. E. Stott (2nd ed.). Waltham, MA: Academic Press. ISBN 978-0-12-384656-3. OCLC 784573591.
  4. Angelo, Joseph A. (2004). Nuclear technology. Westport, Conn.: Greenwood Press. ISBN 0-313-05907-1. OCLC 61253172.

Read other articles:

Giulio Classico (latino: Iulius Classicus; ... – ...; fl. I secolo) è stato un mercenario gallo che fu un prefetto dell'Impero romano coinvolto nella rivolta batava (69-70). Membro della tribù dei Treviri, Classico era prefetto di un'ala di Treviri dell'esercito romano del Reno, sotto il comando di Vitellio (69). Discendente della famiglia reale dei Treviri, i suoi antenati lo qualificavano come nemico di Roma, piuttosto che come sua alleato. Quando il comandante batavo dell'esercito roma...

 

Swedish football redirects here. For the 19th century code of football, see Swedish football (code). This article includes a list of general references, but it lacks sufficient corresponding inline citations. Please help to improve this article by introducing more precise citations. (December 2013) (Learn how and when to remove this template message) Overview of football in Sweden Football in SwedenCountrySwedenGoverning bodySvFFNational team(s)SwedenFirst played1870; 153 years a...

 

هذه المقالة تحتاج للمزيد من الوصلات للمقالات الأخرى للمساعدة في ترابط مقالات الموسوعة. فضلًا ساعد في تحسين هذه المقالة بإضافة وصلات إلى المقالات المتعلقة بها الموجودة في النص الحالي. (يوليو 2019) منتخب التشيك لاتحاد الرغبي بلد الرياضة التشيك  الموقع الرسمي الموقع الرسمي&#...

Estadio Olímpico Atatürk Estadio de máxima categoría UEFALocalizaciónPaís  TurquíaLocalidad Başakşehir, Estambul, TurquíaCoordenadas 41°04′28″N 28°45′57″E / 41.074472222222, 28.765702777778Detalles generalesNombre completo Atatürk Olimpiyat StadıSuperficie CéspedDimensiones 105 x 68 mCapacidad 75 145[1]​ espectadoresMarcador SíPropietario República de TurquíaConstrucciónCoste 140 millones de dólares[2]​(211.00 millones de 2021)[3]&#...

 

Частина інформації в цій статті застаріла. Ви можете допомогти, оновивши її. Можливо, сторінка обговорення містить зауваження щодо потрібних змін. (травень 2015) Морський гідрофізичний інститут НАН України Будівля інституту на мисі Хрустальному Будівля інституту на мис...

 

لا تراجع ولا استسلاملا تراجع ولا استسلام (القبضه الداميه) (بالعربية) معلومات عامةالصنف الفني فيلم أكشن — فيلم كوميدي تاريخ الصدور 30 يونيو 2010مدة العرض 116 دقيقة اللغة الأصلية العربيةالبلد  مصرالطاقمالمخرج أحمد الجنديالكاتب شريف نجيبالبطولة أحمد مكيدنيا سمير غانمماجد ال...

يفتقر محتوى هذه المقالة إلى الاستشهاد بمصادر. فضلاً، ساهم في تطوير هذه المقالة من خلال إضافة مصادر موثوق بها. أي معلومات غير موثقة يمكن التشكيك بها وإزالتها. (يناير 2021) غروت بريجس جيف شيرنز 2019 تفاصيل السباقسلسلة53. غروت بريجس جيف شيرنزمنافسةطواف أوروبا للدراجات 2019 1.1‏التار

 

Religious makeup of Lahore, Pakistan It is estimated that the city of Lahore, Pakistan, has a Muslim majority with 94.7% and Christian minority constitute 5.1% of the population and rest Sikhs and Hindus constitute the remaining 0.2%. There is also a small but longstanding Zoroastrian community.[1] Religion in Lahore City 2017[2] Religion Percent Islam   94.7% Christianity   5.14% Hinduism   0.02% Sikhism   0.02% Others   0.1% Before Partition Rel...

 

This article needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed.Find sources: List of schools in Nova Scotia – news · newspapers · books · scholar · JSTOR (September 2014) (Learn how and when to remove this template message) Nearly all primary and secondary schools in the province of Nova Scotia are public schools maintained by the provi...

Breed of chicken A Serama rooster in its native country of Malaysia The Serama (Malay: Ayam Serama), also called the Malaysian Serama, is a bantam breed of chicken originating in Malaysia within the last 50 years. History This section needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources in this section. Unsourced material may be challenged and removed.Find sources: Serama – news · newspapers · bo...

 

National flag This article needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed.Find sources: Flag of Peru – news · newspapers · books · scholar · JSTOR (September 2013) (Learn how and when to remove this template message) Republic of PeruBandera nacional (National flag)El pendón bicolor (The bicolor banner)La enseña nacional (The nation...

 

Group of identical cells that share a common ancestry Clonal expansion and monoclonal versus polyclonal proliferation A clone is a group of identical cells that share a common ancestry, meaning they are derived from the same cell.[1] Clonality implies the state of a cell or a substance being derived from one source or the other. Thus there are terms like polyclonal—derived from many clones; oligoclonal[2]—derived from a few clones; and monoclonal—derived from one clone. ...

Perjanjian Shimoda Nama panjang: Perjanjian Perdagangan dan Navigasi antara Jepang dan Rusia Salinan Perjanjian Shimoda, 7 Februari 1855Ditandatangani07 Februari 1855 (1855-02-07)LokasiShimoda, Shizuoka, JepangEfektif7 Agustus 1856Penanda tangan Keshogunan Tokugawa, Jepang  Kekaisaran Rusia Bahasa Tionghoa Jepang Belanda Perjanjian Shimoda (下田条約, Shimoda Jouyaku) (secara resmi Perjanjian Perdagangan dan Navigasi antara Jepang dan Rusia 日露和親条約, Nichi-Ro Washin Jou...

 

2011 single by Sunrise AvenueHollywood HillsSingle by Sunrise Avenuefrom the album Out of Style B-sideWhat I Like About YouReleased25 February 2011 (2011-02-25)Recorded2010GenreEmo pop, rockLength3:30LabelCapitolSongwriter(s)Samu HaberProducer(s)Jukka ImmonenSunrise Avenue singles chronology Welcome to My Life (2009) Hollywood Hills (2011) I Don't Dance (2011) Hollywood Hills is a song recorded by Finnish rock band Sunrise Avenue for their third studio album, Out of Style (2011...

 

Defence Production complex in India This article uses bare URLs, which are uninformative and vulnerable to link rot. Please consider converting them to full citations to ensure the article remains verifiable and maintains a consistent citation style. Several templates and tools are available to assist in formatting, such as reFill (documentation) and Citation bot (documentation). (June 2022) (Learn how and when to remove this template message) Ordnance Factory BoardIndustryDefence ProductionF...

Salib Yerusalem. Salib Yerusalem, juga dikenal sebagai Salib Prajurit Perang Salib, adalah sebuah salib atau simbol Kristiani yang terbentuk dari masa ke masa yang terdiri atas sebuah salib Yunani besar dikelilingi oleh empat salib Yunani kecil, satu di tiap kuadran-nya. Berkas:Crusaders cross.gifSalib Prajurit Perang Salib. Bentuk yang lebih sederhana dari salib ini adalah Salib Prajurit Perang Salib, karena simbol ini tertera di bendera kepausan yang diberikan oleh Paus Urbanus II untuk Per...

 

Conservative Baptists adhering to a degree of Calvinist beliefs Primitive Baptist churchesClassificationPrimitive BaptistsOrientationConservativeTheologyCalvinistic Baptist[1]PolityCongregationalRegionUnited States, mainly in the southern statesOrigin19th centurySeparationsMissionary Baptists Primitive Baptists – also known as Regular Baptists, Old School Baptists, Foot Washing Baptists, or, derisively, Hard Shell Baptists[2] – are conservative Baptists adhering to...

 

هذه المقالة يتيمة إذ تصل إليها مقالات أخرى قليلة جدًا. فضلًا، ساعد بإضافة وصلة إليها في مقالات متعلقة بها. (نوفمبر 2020) اضغط هنا للاطلاع على كيفية قراءة التصنيف الروثا الأردنية المرتبة التصنيفية نوع  التصنيف العلمي المملكة: النباتات الفرقة العليا: النباتات الأرضية القسم: ...

Fallout 3 Обложка игры Разработчик Bethesda Game Studios Издатели Bethesda Softworks ZeniMax Media 1С (Россия) Локализатор 1С Часть серии Fallout Даты выпуска Microsoft Windows 28 октября 2008 года[1] 30 октября 2008 года[1] 30 октября 2008 года[2] 30 октября 2008 года[1] 31 октября 2008 года[1] 4 декабря 2008 года Xbox...

 

Czech mathematician (1848–1916) Karel Zahradnik (1848–1916) was a Czech mathematician at the University of Zagreb. In his 23 years of productive activity in Zagreb he wrote several significant scholarly works, mainly concerned with algebraic curves. Karel Zahranník Further reading Life and Work of Karel Zahradnik (1848–1916) Authority control databases International VIAF National Germany Czech Republic Academics MathSciNet Mathematics Genealogy Project zbMATH This biographical article ...

 

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!