จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน426,982
ผู้ใช้สิทธิ58.11%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย จำลอง ศรีเมือง มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังธรรม กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 5 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บัญญัติ บรรทัดฐาน (10)* 69,620
ประชาธิปัตย์ ชุมพล กาญจนะ (11) 62,905
ประชาธิปัตย์ ประวิช นิลวัชรมณี (12) 45,939
ความหวังใหม่ สิทธิพร โพธิ์เพชร (3)✔ 39,698
ความหวังใหม่ โกเมศ ขวัญเมือง (1)* 30,259
เอกภาพ วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล (7) 23,820
พลังธรรม โอฬาร ศิริโภคพัฒน์ (5) 21,429
ความหวังใหม่ ตัน วัชรสินธุ์ (2)* 21,337
พลังธรรม ประดิษฐ วิชัยดิษฐ (4) 18,084
พลังธรรม ณรงค์ พลวิชัย (6) 17,481
เอกภาพ สุเทพ ขวัญละมัย (9) 15,823
เอกภาพ โกศล ศุทธางกูร (8) 13,475
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุเทพ เทือกสุบรรณ (8)* 42,842
ประชาธิปัตย์ นิภา พริ้งศุลกะ (7) 31,890
สามัคคีธรรม ทรงกรด ประดิษฐพร (4) 29,919
ความหวังใหม่ ไพฑูรย์ วงศ์วานิช (9)✔ 25,855
สามัคคีธรรม ภิญญา ช่วยปลอด (3)* 18,535
ความหวังใหม่ วิริยะ ช่วยบำรุง (10) 15,504
เอกภาพ โกวิท ศรีด่าน (5) 9,297
พลังธรรม สุชาติ อินทรมณี (1) 4,430
พลังธรรม ฐากูรศิลป์ สิทธิสุราษฏร์ (2) 3,758
ชาติไทย สุทธิ ภิบาลแทน (11) 3,407
กิจสังคม ประเสริฐ แสงหิรัญ (13) 2,600
เอกภาพ ประกิจ เพชรรัตน์ (6) 2,015
ชาติไทย สุนทร มณีนิล (12) 596
กิจสังคม นิสิต ภควานนท์ (14) 108
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!