จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน285,866
ผู้ใช้สิทธิ61.76%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล ประมาณ อดิเรกสาร เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)✔ 63,806
ชาติไทย ยุพา อุดมศักดิ์ (7)* 54,515
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุณีย์ เหลืองวิจิตร (9) 20,132
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เรือตรี พายัพ ผะอบเหล็ก (18)✔ 11,925
ประชาธิปัตย์ สุเทพ วสันติวงศ์ (5)* 10,090
ประชากรไทย สมพงษ์ เอี่ยมอุไร (3) 2,065
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ยวน หลวงนรินทร์ (2) 1,891
ประชาธิปัตย์ ธีระ วสันติวงศ์ (6) 1,599
ชาติไทย นิมิตร คัชมาตย์ (8) 904
ประชากรไทย มนัส สุพรรณกุล (4) 757
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สานิตย์ มังกรณ์เพ็ชร (17) 674
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จำรัส สุขสุศรี (20) 279
สหประชาธิปไตย มาก โตสงคราม (14) 241
แรงงานประชาธิปไตย ไสว สิบหย่อม (16) 237
แรงงานประชาธิปไตย รัตน์ ดีพร้อม (15) 217
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมชาย ชูณรงค์ (19) 197
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สง่า คล่องแคล่ว (10) 180
รวมไทย (พ.ศ. 2529) กองเพชร รุ่งรังษี (12) 132
สหประชาธิปไตย โพธิ์ ชื่นภิรมย์ (13) 80
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุรัตน์ แสงดี (11) 58
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และกิ่งอำเภอทับคล้อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ (5)* 47,788
ประชาธิปัตย์ โตก รอดรักษา (6)✔ 44,399
ชาติไทย ทองปอนด์ สิทธิเกษร (1)* 24,618
สหประชาธิปไตย พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (3) 16,741
สหประชาธิปไตย ณรงค์ บุญมี (4) 10,773
ประชากรไทย ชวลิต จันคนา (7) 2,089
ประชากรไทย พงษ์ศักดิ์ วรรณพักตร์ (8) 1,353
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชุมพล ชัยรัตนศักดา (9) 963
ชาติไทย ชูชาติ สุขอินทร์ (2) 916
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำเนียร วงษ์ศรีเดช (10) 914
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เยาวลักษณ์ ทยานันทน์ (13) 338
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อนงค์ เซียงทา (15) 338
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อุไร จู้อี้ (16) 326
รักไทย ฑนนท์ นันทสุข (18) 209
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วัลลภ อิศรางกูร ณ อยุธยา (14) 192
รักไทย สุทธิ์ รุ่งเรือง (17) 113
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พีระ แสงดี (11) 105
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไทรณ พวงแก้ว (12) 81
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!