ปี พ.ศ./ค.ศ.
|
ชื่อ
|
ประเทศ
|
หัวข้อ
|
2544/2001
|
อีริค แอลลิน คอร์เนลล์ วอล์ฟกัง เคทแทร์เล คาร์ล เอดวิน ไวอ์แมน
|
สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการบรรลุผลสำเร็จในการทำ สถานะควบแน่นแบบ โบส-ไอน์สไตน์ ใน แก๊สอัลคาไลเจือจาง และ สำหรับ การแรกเริ่มศึกษาพื้นฐานของคุณสมบัติของ สถานะควบแน่น"
|
2545/2002
|
เรย์มอนด์ เดวิส มาซาโตชิ โคชิบา
|
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น
|
การศึกษาฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากการตรวจจับอนุภาค "นิวทริโน" ในอวกาศ (cosmic neutrinos)
|
ริคคาร์โด แจ็คโคนี
|
สหรัฐอเมริกา
|
บุกเบิกสาขาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ซึ่งนำไปสู่การค้นพบแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ในอวกาศ
|
2546/2003
|
อเลกซี่ อเลกซีเยวิช อาบริโคซอฟ วิตาลี ลาเซียเรียวิช กินซ์บูร์ก แอนโทนี่ เลกเกท
|
รัสเซีย รัสเซีย สหราชอาณาจักร
|
"เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีตัวนำยิ่งยวดประเภททุติยภูมิและทฤษฎีของเหลวยิ่งยวดฮีเลียม-3"
|
2547/2004
|
เดวิด เจ. กรอส เอช. เดวิด พอลิตเซอร์ แฟรงก์ วิลเชก
|
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
|
สำหรับการค้นพบ ความอิสระเข้าใกล้ ในทฤษฎี ปฏิกิริยาอย่างเข้ม
|
2548/2005
|
รอย เจย์ กลอเบอร์
|
สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการมีส่วนร่วมในทฤษฎีควอนตัมของ ความพร้อมเพรียงเชิงทัศนศาสตร์ (optical coherence)"
|
จอห์น ลิวอีส ฮอลล์ เทโอดอร์ วอล์ฟกัง เฮนช์
|
สหรัฐอเมริกา เยอรมนี
|
"สำหรับการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การหาความถี่จำเพาะที่มีความแม่นยำโดยการใช้เลเซอร์ รวมไปถึงเทคนิคหวีความถี่เชิงทัศนศาสตร์ (optical frequency comb technique)"
|
2549/2006
|
จอห์น ซี แมเธอร์ จอร์จ เอฟ สมูท
|
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการค้นพบรูปแบบวัตถุดำและ ความไม่สม่ำเสมอ (Anisotropy) ของ รังสีจักรวาลพื้นหลังในย่านไมโครเวฟ (cosmic microwave background radiation)"
|
2550/2007
|
อัลเบิร์ต เฟิร์ต ปีเตอร์ กรุนแบร์ก
|
ฝรั่งเศส เยอรมนี
|
"สำหรับการค้นพบ ปรากฏการณ์ ความต้านทานแม่เหล็ก ขนาดยักษ์ (Giant magnetoresistive effect) ของพวกเขา"
|
2551/2008
|
โยอิชิโร นัมบุ
|
ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการค้นพบกลไกการทำลายสมมาตรที่เกิดขึ้นเอง (Spontaneous symmetry breaking) ในฟิสิกส์ที่เล็กกว่าอะตอม (subatomic physics)"
|
มาโกโตะ โคบายาชิ โตชิฮิเดะ มาสคาวะ
|
ญี่ปุ่น
|
"สำหรับการค้นพบต้นกำเนิดของสมมาตรที่ถูกทำลาย ซึ่งทำนายการมีอยู่ของ ควาร์ก อย่างน้อยสามตระกูล ในธรรมชาติ"
|
2552/2009
|
ชาร์ลส ก. เกา
|
สหราชอาณาจักร
|
"สำหรับความสำเร็จที่เป็นกุญแจพื้นฐานเกี่ยวกับการส่งผ่านแสงในเส้นใยนำแสงสำหรับการสื่อสารเชิงทัศนศาสตร์"
|
วิลลาร์ด ส. บอยล์ จอร์จ อ. สมิธ
|
แคนาดา สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการประดิษฐ์ วงจรกึ่งตัวนำ ที่เกี่ยวกับการรับภาพ - ตัวตรวจวัดซีซีดี (CCD)"
|
2553/2010
|
อันเดร ไกม คอนสแตนติน โนโวเซลอฟ
|
รัสเซีย/ เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย/ สหราชอาณาจักร
|
"สำหรับการทดลองบุกเบิก เกี่ยวกับ กราฟีน วัสดุสองมิติ"
|
2554/2011
|
ซอล เพิร์ลมุตเตอร์ (Saul Perlmutter) อดัม รีสส์ (Adam Riess) ไบรอัน ชมิดท์ (Brian Schmidt)
|
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา/ ออสเตรเลีย
|
"สำหรับงานวิจัยเกี่ยวกับซูเปอร์โนวาและการค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายด้วยอัตราเร่งคงที่" [7]
|
2555/2012
|
แซร์ฌ อาร็อช (Serge Haroche)
|
ฝรั่งเศส
|
"สำหรับวิธีทดลองแบบเปิดโลกที่ช่วยให้สามารถทำการวัด และ จัดการระบบควอนตัม เฉพาะเจาะจงแต่ละระบบได้".[8]
|
เดวิด เจ. ไวน์แลนด์ (David J. Wineland)
|
สหรัฐอเมริกา
|
2556/2013
|
ฟร็องซัว อ็องแกลร์ (François Englert)
|
เบลเยียม
|
"สำหรับการค้นพบทฤษฎีกลไกของฮิกส์ (Higgs mechanism) ซึ่งสนับสนุนความเข้าใจเรื่องการกำเนิดมวลของอนุภาคต่าง ๆ โดยทฤษฎีดังกล่าวได้รับการยืนยันจากการค้นพบอนุภาคมูลฐานฮิกส์ จากการทดลองโดยใช้เครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ (LHC) ในเซิร์น ตรวจวัดโดยเครื่อง ATLAS และ CMS[9][10]
|
ปีเตอร์ ฮิกส์ (Peter Higgs)
|
สหราชอาณาจักร
|
2557/2014
|
อิซามุ อาคาซากิ (Isamu Akasaki)
|
ญี่ปุ่น
|
"สำหรับนวัตกรรมไดโอดเปล่งแสงสีน้ำเงิน ซึ่งสร้างแหล่งพลังงานแสงขาวที่สว่างจ้าและประหยัดพลังงาน"[11]
|
ฮิโรชิ อามาโนะ (Hiroshi Amano)
|
ญี่ปุ่น
|
ชูจิ นากามูระ (Shuji Nakamura)
|
ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา
|
2558/2015
|
ทะกะอะกิ คะจิตะ (Takaaki Kajita, 梶田隆章)
|
ญี่ปุ่น
|
"สำหรับการค้นพบปรากฏการณ์การแกว่งของนิวตริโน ซึ่งชี้ให้เห็นว่านิวตริโนนั้นมีมวล"[12]
|
อาร์เธอร์ บี. แมคโดนัลด์ (Arthur B. McDonald)
|
แคนาดา
|
2559/2016
|
เดวิด เจ. เธาเลส (David J. Thouless) ดันแคน ฮัลเดน (Duncan Haldane) ไมเคิล คอสเตอร์ลิตซ์ (Michael Kosterlitz)
|
สหราชอาณาจักร/ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร/ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร/ สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการค้นพบทางทฤษฎีของการเปลี่ยนผ่านเฟสทอพอโลยีและเฟสทอพอโลยีของสสาร"[13]
|
2560/2017
|
เรเนอร์ ไวส์ (Rainer Weiss) แบร์รี แบริช (Barry Barish) คิป ธอร์น (Kip Thorne)
|
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการมีส่วนร่วมสำคัญในโครงการไลโกและการตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วง"[14]
|
2561/2018
|
อาร์เธอร์ แอชกิน (Arthur Ashkin)
|
สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการประดิษฐ์คิดค้นครั้งสำคัญในสาขาฟิสิกส์เลเซอร์"[15]
|
เฌราร์ มูรู (Gérard Mourou)
|
ฝรั่งเศส
|
ดอนนา สตริกแลนด์ (Donna Strickland)
|
แคนาดา
|
2562/2019
|
จิม พีเบิลส์
|
แคนาดา สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการค้นพบทฤษฎีทางจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ"[16]
|
มีแชล มายอร์
|
สวิตเซอร์แลนด์
|
"สำหรับการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์"[16]
|
ดีดีเย เกโล
|
สวิตเซอร์แลนด์
|
2563/2020
|
โรเจอร์ เพนโรส
|
สหราชอาณาจักร
|
"สำหรับการค้นพบว่าการก่อตัวของหลุมดำเป็นการทำนายของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป"[17]
|
ไรน์ฮาร์ด เกนเซล
|
เยอรมนี
|
"สำหรับการค้นพบวัตถุกะทัดรัดมวลยวดยิ่งที่ใจกลางดาราจักรของเรา"[17]
|
แอนเดรีย เกซ
|
สหรัฐอเมริกา
|
2564/2021
|
ชูกูโร มานาเบะ
|
ญี่ปุ่น
|
"สำหรับแบบจำลองภูมิอากาศของโลก ซึ่งแสดงความแปรปรวนและการคาดการณ์ที่เชื่อถือได้ของภาวะโลกร้อน"[18]
|
เคลาส์ ฮัสเซิลมัน
|
เยอรมนี
|
จอร์โจ ปารีซี
|
อิตาลี
|
"สำหรับการค้นพบปฏิสัมพันธ์ของความไม่เป็นระเบียบและความผันผวนในระบบทางกายภาพ ตั้งแต่ระดับอะตอมถึงดาวเคราะห์"[18]
|
2565/2022
|
อาแล็ง อัสแป
|
ฝรั่งเศส
|
"สำหรับการทดลองโฟตอนเชิงพัวพัน ซึ่งเป็นการละเมิดอสมการเบลล์และบุกเบิกวิทยาการสารสนเทศเชิงควอนตัม"[19]
|
จอห์น เคลาเซอร์
|
สหรัฐอเมริกา
|
อันโทน ไซลิงเงอร์
|
ออสเตรีย
|
2566/2023
|
ปีแยร์ อาก็อสตีนี
|
ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับวิธีการทดลองการกำเนิดแสงกะพริบระดับอัตโตวินาที เพื่อศึกษาพลศาสตร์อิเล็กตรอนของสสาร"[20]
|
แฟแร็นตส์ กรออุส
|
ฮังการี
|
อาน ลุยเย
|
ฝรั่งเศส
|
2567/2024
|
จอห์น ฮอปฟีลด์ (John Hopfield)
|
สหรัฐอเมริกา
|
"สำหรับการค้นพบพื้นฐานและการประดิษฐ์ ซึ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้ของเครื่องด้วยโครงข่ายประสาทเทียม"[21]
|
เจฟฟรีย์ ฮินตัน (Geoffrey Hinton)
|
สหราชอาณาจักร แคนาดา
|