ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2019–20
อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน จะเป็นสนามแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศ
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่รอบคัดเลือก:
25 มิถุนายน – 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562
การแข่งขันหลัก:
17 กันยายน พ.ศ. 2562 – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2563
ทีมรอบแบ่งกลุ่ม: 32
ทั้งหมด: 79 (จาก 54 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก (สมัยที่ 6)
รองชนะเลิศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน119
จำนวนประตู386 (3.24 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม4,758,398 (39,987 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี
(15 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปถ้วยใหญ่ที่สุด จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่ 64 และเป็นฤดูกาลที่ 27 ตั้งแต่มีการเปลี่ยนชื่อจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับส์คัพ เป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020 กำหนดแข่งขันที่ อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน, ประเทศโปรตุเกส. โดยสโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันนี้จะได้สิทธิ์เข้าร่วมในการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2020 กับสโมสรที่ชนะเลิศในการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 อีกทั้งยังจะได้สิทธิ์ในการเข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 ที่ประเทศกาตาร์ และจะได้เข้าร่วมการแข่งขันในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกฤดูกาลหน้าในรอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติ หรือหากสโมสรที่ชนะเลิศนั้นได้สิทธิ์จากการแข่งขันลีกแล้ว สโมสรที่ชนะเลิศในเอเรอดีวีซี ฤดูกาล 2019–20 ซึ่งเป็นลำดับที่ 11 ในการจัดอันดับสโมสรที่จะได้เข้าร่วมทำการแข่งขัน จะได้รับสิทธิ์ในการแข่งขันนี้แทน

ระบบผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) จะใช้ในการแข่งขันนี้ตั้งแต่รอบคัดเลือก[1]

โดย ลิเวอร์พูล ซึ่งเป็นแชมป์ในฤดูกาลที่ผ่านมาจะทำการแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์. แต่ทั้งสองทีมของคู่ชิงชนะเลิศเมื่อฤดูกาลที่ผ่านมา, ทอตนัมฮอตสเปอร์ และลิเวอร์พูลต่างกระเด็นตกรอบในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, หลังจากพ่ายแพ้ต่อ แอร์เบ ไลพ์ซิช และ อัตเลติโกเดมาดริด ตามลำดับ.

ผลกระทบจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา

รอบ 16 ทีมสุดท้าย แต่ละคู่จะลงเล่นในช่วงสี่สัปดาห์, กับเลกแรกจะลงเล่นในช่วงสองสัปดาห์ในเดือนกุมภาพันธ์และเลกที่สองในสองสัปดาห์ต่อมาในเดือนมีนาคม. เพราะว่าแต่ละคู่ในเลกแรกไม่ได้รับผลกระทบจากการระบาดใหญ่, แต่ในแต่ละคู่ของเลกที่สองจะได้รับผลกระทบในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป. ทั้งหมดสี่นัดในสัปดาห์แรกของโปรแกรมการแข่งขันจะดำเนินไปข้างหน้าต่อแต่เนื่องจากความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นของ การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศสเปน และ ฝรั่งเศส, เกมนัดเหย้าของ บาเลนเซีย และ เปแอ็สเฌ จะลงเล่นหลังปิดประตูสนามแข่งขัน.[2][3] เมื่อวันที่ 15 มีนาคม, ยูฟ่าได้ประกาศหยุดการแข่งขันชั่วคราวหมายความว่าเกมเลกที่สองนัดที่เหลืออยู่จะถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด.[4][5] กับคณะทำงานที่ได้มีกำหนดให้จัดตารางการแข่งขันใหม่ในช่วงเวลาที่เหลือของฤดูกาล.[6] เมื่อวันที่ 23 มีนาคม มีการเปิดเผยว่า สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค ใน อิสตันบูล ประเทศตุรกี จะไมได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันอีกต่อไปใน การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ, ซึ่งตามกำหนดเดิมจะเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม, แต่จะจัดในการเป็นเจ้าภาพ นัดชิงชนะเลิศปี 2021 เป็นการทดแทน.[7]

เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน มีการเปิดเผยว่ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจะรีเทิร์นกลับมาแข่งขันกันต่อในวันที่ 7 สิงหาคมและมีบทสรุปสุดท้ายในวันที่ 23 สิงหาคม,[8] กับช่วงพักแข่งขันของทัวร์นาเมนต์ที่จะจัดขึ้นในประเทศโปรตุเกส.[9] ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจะลงเล่นในสไตล์มินิ-ทัวร์นาเมนต์กับโปรแกรมการแข่งขันที่เหลืออยู่ที่จะลงเล่นในรูปแบบเลกเดียวของแต่ละคู่ยกเว้นสำหรับโปรแกรมการแข่งขันรอบ 16 ทีมสุดท้าย ในขณะที่เลกแรกมีการลงเล่นไปบ้างแล้ว.[8] คู่ที่เหลือทั้งหมดของการแข่งขันจะลงเล่นปิดประตูสนามแข่งขันเนื่องจาก การปรากฏตัวที่เหลืออยู่ของ การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในทวีปยุโรป พ.ศ. 2563.[10]

สนามแข่งขันรอบสุดท้าย

ลิสบอน
อิชตาดีอูดาลุช
(สนามแข่งขันของ รอบชิงชนะเลิศ)
ความจุ: 64,642
ลิสบอน
อิชตาดีอูโชแซอัลวาลาด
ความจุ: 50,095

การคัดเลือกสโมสร

79 สโมสรจาก 54 ประเทศ ของสมาชิกยูฟ่าจำนวน 55 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์ ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก) โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้:[11]

  • สมาคมอันดับที่ 1–4 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 5–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–55 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร
  • สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19 จะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันหากไม่ได้สิทธิ์จากการแข่งขันลีก

การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล

สำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 จะจัดอันดับอ้างอิงตามค่าสัมประสิทธิ์ของยูฟ่าในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) ซึ่งคิดตามผลการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปตั้งแต่ฤดูกาล 2013–14 ถึง 2017–18[12]

นอกจากการคิดจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว สมาคมของประเทศนั้นจะได้รับสิทธิ์ให้มีสโมสรเข้าแข่งขันเพิ่มในแชมเปียนส์ลีก ดังนี้:

  • (UCL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีก
  • (UEL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศยูโรปาลีก
อันดับตามสมาคมฟุตบอลสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
1 สเปน สเปน 106.998 4
2 อังกฤษ อังกฤษ 79.605
3 อิตาลี อิตาลี 76.249
4 เยอรมนี เยอรมนี 71.427
5 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 56.415 3
6 รัสเซีย รัสเซีย 53.382
7 โปรตุเกส โปรตุเกส 47.248 2
8 ยูเครน ยูเครน 41.133
9 เบลเยียม เบลเยียม 38.500
10 ตุรกี ตุรกี 35.800
11 ออสเตรีย ออสเตรีย 32.850
12 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 30.200
13 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 30.175
14 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 29.749
15 กรีซ กรีซ 28.600
16 โครเอเชีย โครเอเชีย 26.000 1
17 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 25.950
18 อิสราเอล อิสราเอล 21.750
19 ไซปรัส ไซปรัส 21.550
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
20 โรมาเนีย โรมาเนีย 20.450 1
21 โปแลนด์ โปแลนด์ 20.125
22 สวีเดน สวีเดน 19.975
23 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 19.125
24 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 19.125
25 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 18.750
26 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 18.625
27 เบลารุส เบลารุส 18.625
28 คาซัคสถาน คาซัคสถาน 18.125
29 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 17.425
30 สโลวีเนีย สโลวีเนีย 14.500
31 ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 13.000 0
32 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 12.125 1
33 มอลโดวา มอลโดวา 10.000
34 แอลเบเนีย แอลเบเนีย 8.500
35 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 8.250
36 ฮังการี ฮังการี 8.125
37 มาซิโดเนียเหนือ นอร์ทมาซิโดเนีย 7.500
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
38 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 6.900 1
39 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 6.700
40 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 6.625
41 ลัตเวีย ลัตเวีย 5.625
42 เอสโตเนีย เอสโตเนีย 5.500
43 ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 5.375
44 มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 5.000
45 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 5.000
46 อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 4.875
47 มอลตา มอลตา 4.500
48 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 4.375
49 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 4.250
50 เวลส์ เวลส์ 3.875
51 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 3.750
52 ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 3.000
53 อันดอร์รา อันดอร์รา 1.331
54 ซานมารีโน ซานมารีโน 0.499
55 คอซอวอ คอซอวอ 0.000

การจัดการแข่งขัน

ตารางด้านล่างนี้เป็นการจัดการแข่งขันของฤดูกาลนี้[13]

ลำดับการเข้ารอบในการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
สโมสรที่เข้ารอบนี้ สโมสรจากรอบก่อนหน้า
รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 52–55
รอบคัดเลือกรอบแรก
(32 สโมสร)
  • 31 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 20–51 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)
  • 1 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
รอบคัดเลือกรอบสอง ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(20 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 16–19
  • 16 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบแรก
ตัวแทนจากลีก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 12–15
รอบคัดเลือกรอบสาม ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(12 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 14–15
  • 10 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(8 สโมสร)
  • 5 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 7–11
  • 1 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 6
  • 2 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนจากลีก)
รอบเพลย์ออฟ ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(8 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 12–13
  • 6 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนจากลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 สโมสร)
  • 11 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 1–11
  • 6 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 1–6
  • 5 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 1–5
  • 4 สโมสรอันดับที่ 4 จากสมาคมอันดับที่ 1–4
  • 4 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
  • 2 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนจากลีก)
รอบแพ้คัดออก
(16 สโมสร)
  • 8 สโมสรชนะเลิศในรอบแบ่งกลุ่ม
  • 8 สโมสรอันดับที่ 2 ในรอบแบ่งกลุ่ม

สโมสร

อันดับในลีกซึ่งเป็นอันดับในฤดูกาลก่อนหน้าจะแสดงในวงเล็บ (TH: สโมสรชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก; EL: สโมสรชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก).[13]

สโมสรที่ได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 (เรียงตามรอบที่เข้าแข่งขัน)
รอบแบ่งกลุ่ม
อังกฤษ ลิเวอร์พูลTH (อันดับที่ 2) อังกฤษ ทอตนัม ฮอตสเปอร์ (อันดับที่ 4) เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช (อันดับที่ 3) โปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 1)
อังกฤษ เชลซีEL (อันดับที่ 3) อิตาลี ยูเวนตุส (อันดับที่ 1) เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน (อันดับที่ 4) ยูเครน ชัคตาร์ โดเนตสค์ (อันดับที่ 1)
สเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 1) อิตาลี นาโปลี (อันดับที่ 2) ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 1) เบลเยียม เคงก์ (อันดับที่ 1)
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 2) อิตาลี อาตาลันตา (อันดับที่ 3) ฝรั่งเศส ลีล (อันดับที่ 2) ตุรกี กาลาทาซาไร (อันดับที่ 1)
สเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 3) อิตาลี อินแตร์มิลาน (อันดับที่ 4) ฝรั่งเศส ลียง (อันดับที่ 3) ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค (อันดับที่ 1)
สเปน บาเลนเซีย (อันดับที่ 4) เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก (อันดับที่ 1) รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (อันดับที่ 1)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 1) เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 2) รัสเซีย โลโคโมทีฟมอสโก (อันดับที่ 2)
รอบเพลย์ออฟ
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก ตัวแทนจากลีก
สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ (อันดับที่ 1) เช็กเกีย สลาเวีย ปราก (อันดับที่ 1)
รอบคัดเลือกรอบสาม
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก ตัวแทนจากลีก
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ (อันดับที่ ) กรีซ พีเอโอเค (อันดับที่ 1) รัสเซีย ครัสโนดาร์ (อันดับที่ 3) เบลเยียม กลึบบรึคเคอ (อันดับที่ 2)
โปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 2) ตุรกี อิสตันบูลบาชัคเชฮีร์ (อันดับที่ 2)
ยูเครน ดีนาโมคียิว (อันดับที่ 2) ออสเตรีย ลัสค์ (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก ตัวแทนจากลีก
โครเอเชีย ดีนาโม ซาเกร็บ (อันดับที่ 1) อิสราเอล มัคคาบีเทลอาวีฟ (อันดับที่ 1) สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล (อันดับที่ 2) เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (อันดับที่ 2)
เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน (อันดับที่ 1) ไซปรัส อาโปเอล (อันดับที่ 1) เช็กเกีย วิกตอเรีย เพิลเซน (อันดับที่ 2) กรีซ โอลิมเบียโกส (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบแรก
โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช (อันดับที่ 1) คาซัคสถาน อัสตานา (อันดับที่ 1) มาซิโดเนียเหนือ ชคืนดิยา (อันดับที่ 1) ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโลทบิลีซี (อันดับที่ 1)
โปแลนด์ ปัสต์กลีวิตเซ (อันดับที่ 1) นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก (อันดับที่ 1) ฟินแลนด์ เอชเจเค (อันดับที่ 1) อาร์มีเนีย อารารัตอาร์เมเนีย (อันดับที่ 1)
สวีเดน อาอีคอ (อันดับที่ 1) สโลวีเนีย มารีบอร์ (อันดับที่ 1) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก (อันดับที่ 1) มอลตา วัลเล็ตตา (อันดับที่ 1)
อาเซอร์ไบจาน คาราบัก (อันดับที่ 1) สโลวาเกีย สลอวานบราติสลาวา (อันดับที่ 1) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว (อันดับที่ 1) ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ (อันดับที่ 1)
บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด (อันดับที่ 1) มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล (อันดับที่ 1) ลัตเวีย รีกา (อันดับที่ 1) ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ (อันดับที่ 1)
เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด (อันดับที่ 1) แอลเบเนีย พาร์ตีซานี (อันดับที่ 1) เอสโตเนีย นูมเมคาลยู (อันดับที่ 1) เวลส์ เดอะนิวเซนส์ (อันดับที่ 1)
สกอตแลนด์ เซลติก (อันดับที่ 1) ไอซ์แลนด์ วาลูร์ (อันดับที่ 1) ลิทัวเนีย ซูดูวา (อันดับที่ 1) หมู่เกาะแฟโร เอชเบทอร์สเฮาน์ (อันดับที่ 1)
เบลารุส บาเตบอรีซอฟ (อันดับที่ 1) ฮังการี เฟเรนส์วาโรช (อันดับที่ 1) มอนเตเนโกร ซุตเยสกา นิกชิช (อันดับที่ 1)
รอบก่อนรอบแรก
ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส (อันดับที่ 1) อันดอร์รา ซานตาโคโลมา (อันดับที่ 1) ซานมารีโน เทรเพนเน (อันดับที่ 1) คอซอวอ เฟโรนีเคลี (อันดับที่ 1)

วันแข่งขันและวันจับสลาก

การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[14]

วันแข่งขันสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
การแข่งขัน รอบ วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก 11 มิถุนายน 2562 25 มิถุนายน 2562 (รอบรองชนะเลิศ) 28 มิถุนายน 2562 (รอบชิงชนะเลิศ)
รอบคัดเลือกรอบแรก 18 กรกฎาคม 2562 9–10 กรกฎาคม 2562 16–17 กรกฎาคม 2562
รอบคัดเลือกรอบสอง 19 มิถุนายน 2562 23–24 กรกฎาคม 2562 30–31 กรกฎาคม 2562
รอบคัดเลือกรอบสาม 22 กรกฎาคม 2562 6–7 สิงหาคม 2562 13 สิงหาคม 2562
รอบเพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 5 สิงหาคม 2562 20–21 สิงหาคม 2562 27–28 สิงหาคม 2562
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 29 สิงหาคม 2562
(ที่ โมนาโก)
17–18 กันยายน 2562
นัดที่ 2 1–2 ตุลาคม 2562
นัดที่ 3 22–23 ตุลาคม 2562
นัดที่ 4 5–6 พฤศจิกายน 2562
นัดที่ 5 26–27 พฤศจิกายน 2562
นัดที่ 6 10–11 ธันวาคม 2562
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีม 16 ธันวาคม 2562 18–19 และ 25–26 กุมภาพันธ์ 2563 10–11 และ 17–18 มีนาคม 2562
รอบ 8 ทีม 20 มีนาคม 2563 7–8 เมษายน 2563 14–15 เมษายน 2563
รอบรองชนะเลิศ 28–29 เมษายน 2563 5–6 พฤษภาคม 2563
รอบชิงชนะเลิศ 30 พฤษภาคม 2563 ที่ สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค

รอบเบื้องต้น

ในรอบเบื้องต้น, แต่ละทีมจะถูกแบ่งอยู่ในทีมวางและทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับของพวกเขาใน ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี 2019,[15] และจากนั้นได้จับสลากให้อยู่ในรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศแบบนัดเดียว. ผู้แพ้ของรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศทั้งสองรอบจะเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสอง.

การจับสลากสำหรับรอบเบื้องต้นได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[16] รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 25 มิถุนายน, และรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ทั้งสองรอบเล่นกันที่ สนามกีฬาฟาดิลวอคร์รี ใน พริสตีนา, ประเทศคอซอวอ.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองชนะเลิศ
เฟโรนิเคลี คอซอวอ 1–0 ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส
เทรเพนเน ซานมารีโน 0–1 อันดอร์รา ซานตาโคโลมา
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบชิงชนะเลิศ
เฟโรนิเคลี คอซอวอ 2–1 อันดอร์รา ซานตาโคโลมา

รอบคัดเลือก

ในรอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ, แต่ละทีมจะถูกแบ่งอยู่ในทีมวางและทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับของพวกเขาใน ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี 2019,[15] และจากนั้นได้จับสลากให้อยู่ในระบบสองนัดเหย้าและเยือน.

รอบคัดเลือกรอบแรก

ทีมผู้แพ้เข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสอง, ยกเว้นหนึ่งทีมที่จับสลากได้รับสิทธิ์บายสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสาม.

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 14:30 CEST.[17] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 9 และ 10 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 16 และ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
นูมเมคาลยู เอสโตเนีย 2–2 () มาซิโดเนียเหนือ ชคืนดิยา 0–1 2–1
ซูดูวา ลิทัวเนีย 1–2 เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด 0–0 1–2
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 3–4 สวีเดน อาอีคอ 2–1 1–3
อัสตานา คาซัคสถาน 2–3 โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช 1–0 1–3
เฟเรนส์วาโรช ฮังการี 5–3[A] บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด 2–1 3–2
พาร์ตีซานี แอลเบเนีย 0–2 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 0–0 0–2
สลอวานบราติสลาวา สโลวาเกีย 2–2 (2–3 ) มอนเตเนโกร ซุตเยสกา นิกชิช 1–1 1–1
(ต่อเวลา)
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–5[B][C] สกอตแลนด์ เซลติก 1–3 1–2
เชริฟฟ์ ตีรัสปอล มอลโดวา 3–4 ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโลทบิลีซี 0–3 3–1
เอฟ91 ดูเดแลงก์ ลักเซมเบิร์ก 3–3 () มอลตา วัลเล็ตตา 2–2 1–1
ลินฟีลด์ ไอร์แลนด์เหนือ 0–6 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 0–2 0–4
วาลูร์ ไอซ์แลนด์ 0–5 สโลวีเนีย มารีบอร์ 0–3 0–2
ดันดอล์ก สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 0–0 (5–4 ) ลัตเวีย รีกา 0–0 0–0
(ต่อเวลา)
เดอะนิวเซนส์ เวลส์ 3–2 คอซอวอ เฟโรนีเคลี 2–2 1–0
เอชเจเค ฟินแลนด์ 5–2 หมู่เกาะแฟโร เอชเบทอร์สเฮาน์ 3–0 2–2
บาแตบารือเซา เบลารุส 3–2 โปแลนด์ ปัสต์กลีวิตเซ 1–1 2–1

หมายเหตุ

  1. Following a mistake with the original draw not following the correct procedure, UEFA performed a re-draw to establish the home team for each leg in the Ferencváros-Ludogorets Razgrad tie. As a result, the order of legs was reversed. The error did not affect any other tie.[18]
  2. Order of legs reversed after original draw.
  3. Losers to receive a bye to the Europa League third qualifying round.

รอบคัดเลือกรอบสอง

รอบคัดเลือกรอบสองได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (สำหรับทีมที่ได้เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางตัวแทนจากลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้จากสองส่วนทั้งเส้นทางแชมเปียนส์และเส้นทางลีกจะได้ผ่านเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสาม.

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสองได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[19] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 23 และ 24 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 30 และ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ซีเอฟอาร์ คลูช โรมาเนีย 3–2 อิสราเอล มัคคาบีเทลอาวีฟ 1–0 2–2
บาแตบารือเซา เบลารุส 2–3 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 2–1 0–2
เดอะนิวเซนส์ เวลส์ 0–3 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 0–2 0–1
เฟเรนส์วาโรช ฮังการี 4–2 มอลตา วัลเล็ตตา 3–1 1–1
ดันดอล์ก สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–4 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 1–1 0–3
ซาบูร์ตาโลทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย 0–5 โครเอเชีย ดีนาโมซาเกร็บ 0–2 0–3
เซลติก สกอตแลนด์ 7–0 เอสโตเนีย นูมเมคาลยู 5–0 2–0
เรด สตาร์ เบลเกรด เซอร์เบีย 3–2 ฟินแลนด์ เอชเจเค 2–0 1–2
ซุตเยสกา นิกชิช มอนเตเนโกร 0–4 ไซปรัส อาโปเอล 0–1 0–3
มารีบอร์ สโลวีเนีย 4–4 () สวีเดน อาอีคอ 2–1 2–3
(ต่อเวลา)
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนจากลีก
วิกตอเรีย เพิลเซน เช็กเกีย 0–4 กรีซ โอลิมเบียโกส 0–0 0–4
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน เนเธอร์แลนด์ 4–4 () สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 3–2 1–2

รอบคัดเลือกรอบสาม

รอบคัดเลือกรอบสามได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (สำหรับทีมที่ได้เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางตัวแทนจากลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้จากเส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบเพลย์ออฟ, ในขณะที่ผู้แพ้จากเส้นทางตัวแทนจากลีกเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบแบ่งกลุ่ม.

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[20] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 6 และ 7 สิงหาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ซีเอฟอาร์ คลูช โรมาเนีย 5–4 สกอตแลนด์ เซลติก 1–1 4–3
อาโปเอล ไซปรัส 3–2 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 1–2 2–0
พีเอโอเค กรีซ 4–5 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 2–2 2–3
ดีนาโม ซาเกร็บ โครเอเชีย 5–1 ฮังการี เฟเรนส์วาโรช 1–1 4–0
เรด สตาร์ เบลเกรด เซอร์เบีย 2–2 (7–6 ) เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 1–1 1–1
(ต่อเวลา)
มารีบอร์ สโลวีเนีย 2–6 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 1–3 1–3
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนจากลีก
อิสตันบูลบาชัคเชฮีร์ ตุรกี 0–3 กรีซ โอลิมเบียโกส 0–1 0–2
ครัสโนดาร์ รัสเซีย 3–3 () โปรตุเกส โปร์ตู 0–1 3–2
กลึบบรึคเคอ เบลเยียม 4–3 ยูเครน ดีนาโมคียิว 1–0 3–3
บาเซิล สวิตเซอร์แลนด์ 2–5 ออสเตรีย ลัสค์ 1–2 1–3

รอบเพลย์ออฟ

รอบเพลย์ออฟได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางแชมเปียนส์ (สำหรับทีมที่เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ผู้แพ้จากสองส่วนทั้งเส้นทางแชมเปียนส์และเส้นทางลีกจะได้ผ่านเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบแบ่งกลุ่ม. ตั้งแต่รอบนี้, ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ จะถูกนำมาใช้.

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 20 และ 21 สิงหาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 27 และ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ดีนาโม ซาเกร็บ โครเอเชีย 3–1 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 2–0 1–1
ซีเอฟอาร์ คลูช โรมาเนีย 0–2 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 0–1 0–1
ยัง บอยส์ สวิตเซอร์แลนด์ 3–3 () เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด 2–2 1–1
อาโปเอล ไซปรัส 0–2 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 0–0 0–2
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ตัวแทนจากลีก
ลัสค์ ออสเตรีย 1–3 เบลเยียม กลึบบรึคเคอ 0–1 1–2
โอลิมเบียโกส กรีซ 6–1 รัสเซีย ครัสโนดาร์ 4–0 2–1

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่ม เอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ PAR RM BRU GAL
1 ฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 6 5 1 0 17 2 +15 16 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–0 1–0 5–0
2 สเปน เรอัลมาดริด 6 3 2 1 14 8 +6 11 2–2 2–2 6–0
3 เบลเยียม กลึบบรึคเคอ 6 0 3 3 4 12 −8 3 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–5 1–3 0–0
4 ตุรกี กาลาทาซาไร 6 0 2 4 1 14 −13 2 0–1 0–1 1–1
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม บี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ BAY TOT OLY RSB
1 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 6 6 0 0 24 5 +19 18 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–1 2–0 3–0
2 อังกฤษ ทอตนัม ฮอตสเปอร์ 6 3 1 2 18 14 +4 10 2–7 4–2 5–0
3 กรีซ โอลิมเบียโกส 6 1 1 4 8 14 −6 4 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 2–3 2–2 1–0
4 เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด 6 1 0 5 3 20 −17 3 0–6 0–4 3–1
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม ซี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ MC ATA SHK DZG
1 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 4 2 0 16 4 +12 14 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 5–1 1–1 2–0
2 อิตาลี อาตาลันตา 6 2 1 3 8 12 −4 7 1–1 1–2 2–0
3 ยูเครน ชัคตาร์ ดอแนตสก์ 6 1 3 2 8 13 −5 6 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–3 0–3 2–2
4 โครเอเชีย ดีนาโม ซาเกร็บ 6 1 2 3 10 13 −3 5 1–4 4–0 3–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม ดี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ JUV ATL LEV LOM
1 อิตาลี ยูเวนตุส 6 5 1 0 12 4 +8 16 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 3–0 2–1
2 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 3 1 2 8 5 +3 10 2–2 1–0 2–0
3 เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 6 2 0 4 5 9 −4 6 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–2 2–1 1–2
4 รัสเซีย โลโคโมทีฟมอสโก 6 1 0 5 4 11 −7 3 1–2 0–2 0–2
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม อี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ LIV NAP SAL GNK
1 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 6 4 1 1 13 8 +5 13 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 4–3 2–1
2 อิตาลี นาโปลี 6 3 3 0 11 4 +7 12 2–0 1–1 4–0
3 ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 6 2 1 3 16 13 +3 7 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–2 2–3 6–2
4 เบลเยียม เคงก์ 6 0 1 5 5 20 −15 1 1–4 0–0 1–4
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม เอฟ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ BAR DOR INT SLP
1 สเปน บาร์เซโลนา 6 4 2 0 9 4 +5 14 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–1 2–1 0–0
2 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 3 1 2 8 8 0 10 0–0 3–2 2–1
3 อิตาลี อินแตร์มิลาน 6 2 1 3 10 9 +1 7 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–2 2–0 1–1
4 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 6 0 2 4 4 10 −6 2 1–2 0–2 1–3
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า

กลุ่ม จี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ RBL LYO BEN ZEN
1 เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช 6 3 2 1 10 8 +2 11 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–2 2–2 2–1
2 ฝรั่งเศส ลียง 6 2 2 2 9 8 +1 8 2–2 3–1 1–1
3 โปรตุเกส ไบฟีกา 6 2 1 3 10 11 −1 7[a] ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–2 2–1 3–0
4 รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 6 2 1 3 7 9 −2 7[a] 0–2 2–0 3–1
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
Notes:
  1. 1.0 1.1 คะแนนเฮด-ทู-เฮดเสมอกัน (3) เฮด-ทู-เฮด ผลต่างประตู: ไบฟีกา +1, เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก −1.

กลุ่ม เอช

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ VAL CHL AJX LIL
1 สเปน บาเลนเซีย 6 3 2 1 9 7 +2 11[a] ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–2 0–3 4–1
2 อังกฤษ เชลซี 6 3 2 1 11 9 +2 11[a] 0–1 4–4 2–1
3 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 6 3 1 2 12 6 +6 10 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–1 0–1 3–0
4 ฝรั่งเศส ลีล 6 0 1 5 4 14 −10 1 1–1 1–2 0–2
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
Notes:
  1. 1.0 1.1 คะแนนเฮด-ทู-เฮด: บาเลนเซีย 4, เชลซี 1.

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
                      
 
 
 
 
อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์000
 
 
 
เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช134
 
เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช2
 
 
 
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด1
 
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด
(ต่อเวลา)
134
 
 
 
อังกฤษ ลิเวอร์พูล022
 
เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช0
 
 
 
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง3
 
อิตาลี อาตาลันตา448
 
 
 
สเปน บาเลนเซีย134
 
อิตาลี อาตาลันตา1
 
 
 
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง2
 
เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์202
 
23 สิงหาคม – ลิสบอน (ลุซ)
 
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง123
 
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง0
 
 
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก1
 
สเปน เรอัลมาดริด112
 
 
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี224
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี1
 
 
 
ฝรั่งเศส ลียง3
 
ฝรั่งเศส ลียง ()112
 
 
 
อิตาลี ยูเวนตุส022
 
ฝรั่งเศส ลียง0
 
 
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก3
 
อิตาลี นาโปลี112
 
 
 
สเปน บาร์เซโลนา134
 
สเปน บาร์เซโลนา2
 
 
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก8
 
อังกฤษ เชลซี011
 
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก347
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะมีขึ้นในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019), 12:00 CET.[21] รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 18, 19, 25 และ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), เช่นเดียวกันกับชุดแรกของรอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 10 และ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020). เนื่องมาจากความกังวลที่มีต่อ การระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป, ชุดที่สองของแต่ละนัดในเลกที่สองได้เลื่อนการแข่งขันออกไปโดยยูฟ่าเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[4] เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่าเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 7–8 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), กับสนามแข่งขันที่จะใช้ตัดสินระหว่างสนามกีฬาของทีมเจ้าบ้านและสนามเป็นกลางในประเทศโปรตุเกส (ที่ อิชตาดีอูดูดราเกา ใน โปร์ตู และ อิชตาดีอู ดี. อาฟอนโซ เฮนริเกส ใน กีมาไรช์).[22] อย่างไรก็ตาม, เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), ยูฟ่าได้เปิดเผยออกมาว่านัดที่เหลือในเลกที่สองจะจัดขึ้นที่สนามแข่งขันที่คาดไว้ตามเดิม.[23]


ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เยอรมนี 2–3 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 0–2
เรอัลมาดริด สเปน 2–4 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 1–2 1–2
อาตาลันตา อิตาลี 8–4 สเปน บาเลนเซีย 4–1 4–3
อัตเลติโกเดมาดริด สเปน 4–2 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1–0 3–2
(ต่อเวลา)
เชลซี อังกฤษ 1–7 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 0–3 1–4
ลียง ฝรั่งเศส 2–2 () อิตาลี ยูเวนตุส 1–0 1–2
ทอตนัมฮอตสเปอร์ อังกฤษ 0–4 เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช 0–1 0–3
นาโปลี อิตาลี 2–4 สเปน บาร์เซโลนา 1–1 1–3

รอบก่อนรองชนะเลิศ

การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ จะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[4][24] รอบก่อนรองชนะเลิศ จะลงทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 12 ถึง 15 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
แมนเชสเตอร์ซิตี อังกฤษ 1–3 ฝรั่งเศส ลียง
แอร์เบ ไลพ์ซิช เยอรมนี 2–1 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด
บาร์เซโลนา สเปน 2–8 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก
อาตาลันตา อิตาลี 1–2 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง

รอบรองชนะเลิศ

การจับสลากสำหรับรอบรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) (หลังจากการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ). แต่ละนัดจะลงเล่นในวันที่ 18 และ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
ลียง ฝรั่งเศส 0–3 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก
แอร์เบ ไลพ์ซิช เยอรมนี 0–3 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง

รอบชิงชนะเลิศ

รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นที่ อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน. ทีม "เจ้าบ้าน" (เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหาร) ถูกกำหนดโดยการจับสลากเพิ่มเติมที่จัดขึ้นหลังการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ..[24]

สถิติ

สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ.

การแข่งขันมีทั้งหมด 386 ประตูที่ทำได้ใน 119 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.24 ประตูต่อนัด[25]

หมายเหตุ: ผู้เล่นและทีมที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

อันดับผู้ทำประตู

ลำดับ ชื่อ ทีม ประตู เวลาที่เล่น
1 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 15 887
2 นอร์เวย์ อาลิง โฮลัน[A] ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค
เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
10 554
3 เยอรมนี แซร์ช ญาบรี เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 9 767
4 อังกฤษ แฮร์รี เคน อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 6 450
เบลเยียม ดรีส แมร์เตินส์ อิตาลี นาโปลี 586
บราซิล กาบรีแยล เฌซุส อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 590
เนเธอร์แลนด์ แม็มฟิส เดอไป ฝรั่งเศส ลียง 594
อังกฤษ ราฮีม สเตอร์ลิง อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 599
9 เกาหลีใต้ ซน ฮึง-มิน อังกฤษ ทอตนัมฮอตสเปอร์ 5 365
อาร์เจนตินา เมาโร อิการ์ดิ ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 480
สโลวีเนีย โจซิป อีลีชิช อิตาลี อาตาลันตา 516
อาร์เจนตินา เลาตาโร มาร์ติเนซ อิตาลี อินเตอร์ มิลาน 521
อุรุกวัย ลุยส์ ซัวเรซ สเปน บาร์เซโลนา 567
ฝรั่งเศส การีม แบนเซมา สเปน เรอัลมาดริด 643
ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 652

หมายเหตุ

  1. อาลิง โฮลัน ยิงแปดประตูสมัยลงเล่นให้กับ เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ระหว่างรอบแบ่งกลุ่ม, แต่ได้ย้ายทีมสู่ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ระหว่างช่วงตลาดซื้อขายนักเตะเดือนมกราคม, และจะลงทะเบียนในรายชื่อผู้เล่นของพวกเขาสำหรับรอบแพ้คัดออก.[26]

การผ่านบอล

อันดับ ผู้เล่น สโมสร การผ่านบอล นาทีที่ลงเล่น
1 อาร์เจนตินา อังเฆล ดิ มาริอา ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 6 750
โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 887
3 โมร็อกโก ฮะคิม ซิเย็ช เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 5 499
ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 652
ฝรั่งเศส อุสเซม อาอัวร์ ฝรั่งเศส ลียง 715
6 ฝรั่งเศส กอร็องแต็ง ตอลีโซ เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 4 341
แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 572
บราซิล เนย์มาร์ ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 585
บราซิล โรแบร์ตู ฟีร์มีนู อังกฤษ ลิเวอร์พูล 629
แคนาดา อัลฟอนโซ เดวีส์ เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 713

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจัดขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2020 จะลงเล่นโดยปิดประตูเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป.[10]

อ้างอิง

  1. "VAR to be introduced in 2019/20 UEFA Champions League". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กันยายน 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. https://www.espn.com/soccer/uefa-champions-league/story/4070952/coronavirus-psg-dortmund-champions-league-clash-to-be-played-behind-closed-doors?platform=amp
  3. https://www.espn.co.uk/football/uefa-champions-league/story/4066185/coronavirus-valencia-vs-atalanta-champions-league-clash-behind-closed-doors?platform=amp
  4. 4.0 4.1 4.2 "All of this week's UEFA matches postponed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 15 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  5. "UEFA postpones EURO 2020 by 12 months". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-17. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  6. "Resolution of the European football family on a coordinated response to the impact of the COVID-19 on competitions". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  7. "UEFA Club Finals postponed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
  8. 8.0 8.1 https://www.uefa.com/uefachampionsleague/news/025e-0f9a3f8c5c4d-3323c8a96a4d-1000--champions-league-to-resume-on-7-august/amp/
  9. https://amp.dw.com/en/champions-league-final-to-be-held-in-lisbon-cologne-gets-europa-league/a-53846514
  10. 10.0 10.1 "Venues for Round of 16 matches confirmed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
  11. "2018/19 UEFA Champions League regulations" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-05-12. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  12. "Country coefficients 2017/18". UEFA.com. ยูฟ่า. 10 สิงหาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  13. 13.0 13.1 "Champions League and Europa League changes next season". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กุมภาพันธ์ 2561. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  14. "2019/20 Champions League match and draw calendar". UEFA.com. 14 มกราคม 2562.
  15. 15.0 15.1 "Club coefficients". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 August 2018. สืบค้นเมื่อ 10 August 2018.
  16. "UEFA Champions League preliminary round draw". UEFA.com.
  17. "UEFA Champions League first qualifying round draw". UEFA.com.
  18. "UEFA-botrány: Üres teremben sorsolták újra a Fradi-Ludogorecet" (ภาษาฮังการี). origo.hu.
  19. "UEFA Champions League second qualifying round draw". UEFA.com.
  20. "UEFA Champions League third qualifying round draw". UEFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-07. สืบค้นเมื่อ 2019-08-08.
  21. "UEFA Champions League round of 16 draw". UEFA.com.
  22. "UEFA competitions to resume in August". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  23. "Champions League round of 16 venues confirmed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
  24. 24.0 24.1 "UEFA Champions League quarter-final, semi-final and final draws". UEFA.com.
  25. "UEFA Champions League – Statistics". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2020. สืบค้นเมื่อ 23 August 2020.
  26. "Champions League squad changes: Fantasy managers, take note". UEFA.com. 5 February 2020.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!