ภาวะภูมิไวเกิน

ภาวะภูมิไวเกิน
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10T78.4
ICD-9995.3
DiseasesDB28827
MeSHD006967

ภาวะภูมิไวเกิน (อังกฤษ: Hypersensitivity) หมายถึงอาการอันไม่พึงปรารถนาซึ่งก่อให้เกิดขึ้นโดยระบบภูมิคุ้มกัน เช่น โรคภูมิแพ้ หรือ ภาวะแพ้ภูมิตัวเอง โดยอาการเหล่านี้อาจสร้างความไม่สบายตัว, การป่วยไข้ หรือในบางครั้งอาจทำให้เสียชีวิตได้ อาการเหล่านี้มักจะต้องถูกกระตุ้นไปยังระบบภูมิคุ้มกันก่อนเสมอ โดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามการจัดเรียงของ พี.เอช.จี. เกล และ โรบิน คูมบ์ส ในปี พ.ศ. 2506[1]

การจัดแบ่ง

ตารางการเปรียบเทียบภาวะภูมิไวเกิน
ประเภท ชื่อทั่วไป อาการผิดปกติ สารสื่อกลาง
ประเภทที่หนึ่ง
Type I
ภูมิแพ้ (ฉับพลัน)
  • อิมมูโนโกลบูลินิอี, อิมมูโนโกลบูลินิจี 4
ประเภทที่สอง
Type II
ภาวะพิษตือเซลล์, ผ่านแอนติบอดี
  • อิมมูโนโกลบูลินิเอ็ม, อิมมูโนโกลบูลินิจี
  • ระบบคอมพลีเมนต์
ประเภทที่สาม
Type III
โรคอิมมูนคอมเพล็กซ์
  • อิมมูโนโกลบูลินิจี
  • ระบบคอมพลีเมนต์
ประเภทที่สี่
Type IV
ภูมิคุ้มกันไวเกินชนิดช้า (Delayed-type hypersensitivity)[2] [3](DTH), cell-mediated immune memory response, antibody-independent
  • ทีเซลล์
ประเภทที่ห้า
Type V
ภาวะภูมิต้านตนเอง (ดูเพิ่มด้านล่าง)
  • อิมมูโนโกลบูลินิเอ็ม, อิมมูโนโกลบูลินิจี
  • ระบบคอมพลีเมนต์

ประเภทที่ห้า

นี่คือประเภทเพิ่มเติมของภาวะภูมิไวเกินซึ่งถูกใช้ในบางครั้ง (โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักร) โดยแยกออกมาจากประเภทที่สอง[5]

ตัวอย่างของโรค:

จะพบการแยกประเภทที่ห้าออกมานี้น้อยครั้งมาก ส่วนมากจะถูกรวมอยู่ในประเภทที่สอง หรือไม่ในบางกรณีก็จะแยกออกเป็นประเภทย่อยเฉพาะในประเภทที่สอง

อ้างอิง

  1. Gell PGH, Coombs RRA, eds. Clinical Aspects of Immunology. 1st ed. Oxford, England: Blackwell; 1963.
  2. Black, CA. Delayed Type Hypersensitivity: Current Theories with an Historic Perspective Dermatol. Online J. (May 1999) 5(1):7 at http://dermatology.cdlib.org/DOJvol5num1/reviews/black.html
  3. http://emedicine.medscape.com/article/136118-overview
  4. Table 5-1 in:Mitchell, Richard Sheppard; Kumar, Vinay; Abbas, Abul K.; Fausto, Nelson (2007). Robbins Basic Pathology. Philadelphia: Saunders. ISBN 1-4160-2973-7.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) 8th edition.
  5. Rajan TV (July 2003). "The Gell-Coombs classification of hypersensitivity reactions: a re-interpretation". Trends Immunol. 24 (7): 376–9. doi:10.1016/S1471-4906(03)00142-X. PMID 12860528.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!