ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน

ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน
臺灣總督
ตราประทับประจำผู้สำเร็จราชการไต้หวัน
ดำรงตำแหน่งนานที่สุด
ซากูมะ ซามาตะ

11 เมษายน ค.ศ. 1906 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1915
รัฐบาลไต้หวัน
รายงานต่อนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
จวนทำเนียบผู้สำเร็จราชการไต้หวัน
ที่ว่าการสำนักงานผู้สำเร็จราชการไต้หวัน ไทโฮกุ ไต้หวัน
ผู้แต่งตั้งจักรพรรดิญี่ปุ่น
ตำแหน่งก่อนหน้าประธานาธิบดีฟอร์โมซา
สถาปนา10 พฤษภาคม ค.ศ. 1895
คนแรกคาบายามะ ซูเกโนริ
คนสุดท้ายริกิจิ อันโด
ยกเลิก25 ตุลาคม ค.ศ. 1945

ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน (อังกฤษ: Governor-General of Taiwan; ญี่ปุ่น: 臺灣總督, อักษรโรมัน: Taiwan Sōtoku) เป็นหัวหน้าผู้สำเร็จราชการไต้หวันในยุคญี่ปุ่น (รวมฟอร์โมซาและเพสคาดอร์เรส) เมื่อยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่าง ค.ศ. 1895 ถึง 1945

ผู้สำเร็จราชการไต้หวันของญี่ปุ่นเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข้าราชการพลเรือน ขุนนางหรือนายพลญี่ปุ่น พวกเขาใช้อำนาจของตนในนามองค์อธิปัตย์ไต้หวัน (จักรพรรดิญี่ปุ่น) จนกระทั่งจักรวรรดิล่มสลาย และอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐจีน แล้วญี่ปุ่นสละอำนาจ[1]

ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน (1895–1945)

      กองทัพ       ริกเก็งเซยูไก       เค็นเซไก       ริกเก็งมินเซโต

ผู้สำเร็จราชการไต้หวัน (1895–1945)
ลำดับ ภาพ ชื่อ ภูมิลำเนา อาชีพ สังกัด สมัย จักรพรรดิ
1 คาบายามะ ซูเกโนริ
樺山資紀
คาโงชิมะ พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) กองทัพ 10 พฤษภาคม 1895 2 มิถุนายน 1896 เมจิ
2 คัตสึระ ทาโร
桂太郎
ยามางูจิ พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) กองทัพ 2 มิถุนายน 1896 14 ตุลาคม 1896
3 โนงิ มาเรซูเกะ
乃木希典
ยามางูจิ พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) กองทัพ 14 ตุลาคม 1896 26 กุมภาพันธ์ 1898
4 โคดามะ เก็นตาโร
兒玉源太郎
ยามางูจิ พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) กองทัพ 26 กุมภาพันธ์ 1898 11 เมษายน 1906
5 ซากูมะ ซามาตะ
佐久間左馬太
ยามางูจิ พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (ไวเคานต์) กองทัพ 11 เมษายน 1906 1 พฤษภาคม 1915
ไทโช
6 อันโด เทบิ
安東貞美
นางาโนะ พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) (บารอน) กอองทัพ 1 พฤษภาคม 1915 6 มิถุนายน 1918
7 อากาชิ โมโตจิโระ
明石元二郎
ฟูกูโอกะ พลโท (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) กองทัพ 6 มิถุนายน 1918 24 ตุลาคม 1919
8 เด็ง เค็นจิโร
田健治郎
เฮียวโงะ สมาชิกในคณะรัฐมนตรีเทราอูจิ (บารอน) เซยูไก 29 ตุลาคม 1919 6 กันยายน 1923
9 อูจิดะ คากิจิ
內田嘉吉
โตเกียว สมาชิกสภาขุนนาง เซยูไก 6 กันยายน 1923 1 กันยายน 1924
10 อิซาวะ ทากิโอะ
伊澤多喜男
นางาโนะ สมาชิกสภาขุนนาง เค็นเซไก 1 กันยายน 1924 16 กรกฎาคม 1926
11 คามิยามะ มิตสึโนชิง
上山滿之進
ยามางูจิ นักประพันธ์วรรณกรรม เค็นเซไก 16 กรกฎาคม 1926 16 มิถุนายน 1928
โชวะ
12 คาวามูระ ทาเกจิ
川村竹治
อากิตะ สมาชิกสภาขุนนาง เซยูไก 16 มิถุนายน 1928 30 กรกฎาคม 1929
13 อิชิซูกะ เอโซ
石塚英藏
ฟูกูชิมะ สมาชิกสภาขุนนาง มินเซโต 30 กรกฎาคม 1929 16 มกราคม 1931
14 โอตะ มาซาฮิโระ
太田政弘
ยามางาตะ ผู้ว่าการแห่งดินแดนเช่ากวันตง มินเซโต 16 มกราคม 1931 2 มีนาคม 1932
15 มินามิ ฮิโรชิ
南弘
โทยามะ สมาชิกสภาขุนนาง เซยูไก 2 มีนาคม 1932 26 พฤษภาคม 1932
16 นากางาวะ เค็นโซ
中川健蔵
นีงาตะ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มินเซโต 26 พฤษภาคม 1932 2 กันยายน 1936
17 โคบายาชิ เซโซ
小林躋造
ฮิโรชิมะ พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) กองทัพ 2 กันยายน 1936 27 พฤศจิกายน 1940
18 ฮาเซงาวะ คิโยชิ
長谷川清
ฟูกูอิ พลเรือเอก (กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น) กองทัพ 27 พฤศจิกายน 1940 30 ธันวาคม 1944
19 อันโด ริกิจิ
安藤利吉
มิยางิ พลเอก (กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น) กองทัพ 30 ธันวาคม 1944 25 ตุลาคม 1945

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Edward I-te Chen (1970). "Japanese Colonialism in Korea and Formosa: A Comparison of The Systems of Political Control". Harvard Journal of Asiatic Studies. Harvard-Yenching Institute. 30: 126–158. doi:10.2307/2718768. JSTOR 2718768.

แหล่งข้อมูลอื่น

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!