โปเกมอน โก
โปเกมอน โก (อังกฤษ: Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน ค.ศ. 2016 บนระบบปฏิบัติการไอโอเอส และแอนดรอยด์[1] นอกจากเล่นบนมือถือแล้ว ยังสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์สวมใส่ขนาดเล็กเรียกว่า โปเกมอนโกพลัส พัฒนาโดยนินเท็นโด ซึ่งเชื่อมต่อโดยใช้บลูทูธเพื่อแจ้งผู้ใช้ว่ามีโปเกมอนอยู่ใกล้ตัวผ่านแสงแอลอีดี และผ่านเสียงเตือนเบา ๆ[2] เกมจะให้ผู้เล่นจับ ต่อสู้ ฝึกฝน และแลกเปลี่ยนโปเกมอนเสมือนจริงที่จะมีอยู่ทั่วโลก[2] เกมจะไม่มีค่าใช้จ่าย แต่จะมีระบบสนับสนุนการซื้อขายในเกม[3]
ประวัติ
โปเกมอน โก มีต้นกำเนิดมาจากแนวคิดของเกมที่ซาโตรุ อิวาตะ จากนินเท็นโด และสึเนคาซึ อิชิฮาระ จากเดอะโปเกมอนคอมพานี คิดขึ้นมาใน ค.ศ. 2013 จนในปี ค.ศ. 2014 ได้มีการปรากฏในธีม April Fools ของกูเกิ้ลโดยใช้ธีมกูเกิลแมพโปเกมอนมาใช้ จนเมื่อปี ค.ศ. 2015 ในงานเปิดตัวเกมในวันที่ 10 กันยายน อิชิฮาระกล่าวกับอิวะตะ ซึ่งเสียชีวิตในสองเดือนก่อนหน้า[4] อิชิฮาระและภรรยาเคยเล่นเกม อิงเกรส โปเกมอนชนิดต่าง ๆ จะอาศัยในบริเวณแตกต่างกันของโลก ตัวอย่างเช่น โปเกมอนรูปแบบน้ำจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ จะมีกิจกรรมที่ผู้เล่นสามารถแลกเปลี่ยนโปเกมอนเพื่อสะสม อุปกรณ์รัดข้อมือที่เรียกว่า ปโปเกมอน โก พลัส" จะมาพร้อมกับเกม เพื่อให้เกม "เตือนผู้เล่น" ได้มากกว่าในเกมอิงเกรส โดยผอุปกรณ์จะสั่นเตือนผู้เล่นเมื่อมีโปเกมอนอยู่ใกล้ตัว ผู้เล่นสามารถกดปุ่มตามลำดับรหัสที่กำหนดให้เพื่อจับโปเกมอน และตรวจสอบที่เกมว่าจับได้ตัวอะไร[5] การตัดสินใจสร้างโกพลัสแทนสมาร์ตวอตช์เพื่อเพิ่มยอดขายในหมู่ผู้เล่นที่มองว่าสมาร์ตวอตช์ราคาสูงเกินไป[6]
การเล่น
โปเกมอนแต่ละตัวจะสามารถพบได้ในพื้นที่ที่แตกต่างกันไป เช่น โปเกมอนธาตุน้ำ จะสามารถพบได้ใกล้แหล่งน้ำ โดยโปเกมอน โก พลัสจะสามารถใช้งานได้สำหรับแอปพลิเคชันนี้ ซึ่งจะเพิ่มความสนุกให้กับเกมมากกว่าอิงเกรส โดยอุปกรณ์สามารถสั่นเตือนและแจ้งเตือนผ่านสัญญาณไฟกะพริบเมื่อผู้เล่นอยู่ใกล้กับโปเกมอน โดยผู้เล่นสามารถกดปุ่มเพื่อจับโปเกมอนได้ทันที และสามารถตรวจสอบในแอปพลิเคชันได้หลังจากการจับโปเกมอนแล้ว[7]
การเผยแพร่
ภูมิภาคที่ใช้งานได้
วันที่เผยแพร่
|
สีสัญลักษณ์
|
วันที่
|
ประเทศหรือดินแดน
|
อ้างอิง
|
|
6 กรกฎาคม 2016
|
นิวซีแลนด์, สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย
|
[8][9][10][2]
|
|
13 กรกฎาคม 2016
|
เยอรมนี
|
[11]
|
|
14 กรกฎาคม 2016
|
สหราชอาณาจักร
|
[12]
|
|
15 กรกฎาคม 2016
|
โปรตุเกส, สเปน และอิตาลี
|
[13]
|
|
16 กรกฎาคม 2016
|
กรีซ, กรีนแลนด์, โครเอเชีย, เช็กเกีย, ไซปรัส, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฟินแลนด์, มอลตา, โรมาเนีย, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, สวีเดน, ออสเตรีย, เอสโตเนีย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์ และฮังการี
|
[14][15]
|
|
17 กรกฎาคม 2016
|
แคนาดา
|
[16]
|
|
19 กรกฎาคม 2016
|
เปอร์โตริโก
|
[17][18]
|
|
22 กรกฎาคม 2016
|
ญี่ปุ่น
|
[19]
|
|
24 กรกฎาคม 2016
|
ฝรั่งเศส
|
[20]
|
|
25 กรกฎาคม 2016
|
ฮ่องกง
|
[21]
|
|
3 สิงหาคม 2016
|
ลาตินอเมริกาและหมู่เกาะแคริบเบียน
|
[22][23]
|
|
6 สิงหาคม 2016
|
กัมพูชา, ไต้หวัน, ไทย, บรูไน, ปาปัวนิวกินี, ปาเลา, ฟิจิ, ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย, ไมโครนีเซีย, ลาว, สิงคโปร์, หมู่เกาะโซโลมอน, เวียดนาม และอินโดนีเซีย
|
[24][25]
|
|
29 กันยายน 2016
|
แอลเบเนีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, มาเก๊า, มาซิโดเนีย, และ เซอร์เบีย
|
[26]
|
|
30 กันยายน 2016
|
คาซัคสถาน, คีร์กีซสถาน, มองโกเลีย, ทาจิกิสถาน, เติร์กเมนิสถาน, และ อุซเบกิสถาน
|
[27]
|
|
4 ตุลาคม 2016
|
เบนิน, บอตสวานา, บูร์กินาฟาโซ, กาบูเวร์ดี, ชาด, โกตดิวัวร์, อียิปต์, กาบอง, แกมเบีย, กานา, กินี-บิสเซา, เคนยา, ไลบีเรีย, มาดากัสการ์, มาลาวี, มอริเตเนีย, มอริเชียส, โมร็อกโก, โมซัมบิก, นามิเบีย, ไนเจอร์, รวันดา, เซเชลส์, เซาตูเมและปรินซีปี, เซียร์ราลีโอน, แอฟริกาใต้, เอสวาตีนี, แทนซาเนีย, โตโก, ยูกันดา, และ แซมเบีย
|
[28]
|
|
17 พฤศจิกายน 2016
|
บาห์เรน, อิสราเอล, จอร์แดน, คูเวต, เลบานอน, โอมาน, กาตาร์, และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
|
[29]
|
|
13 ธันวาคม 2016
|
อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภูฏาน, ศรีลังกา และบังกลาเทศ
|
[30]
|
|
24 มกราคม 2017
|
เกาหลีใต้
|
[31]
|
|
11 กันยายน 2018
|
รัสเซีย
|
[32]
|
|
3 มิถุนายน 2021
|
ตุรกี
|
[33]
|
เกมโปเกมอน โกได้เปิดให้บริการในออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, สหรัฐอเมริกา, เยอรมนี, สหราชอาณาจักร, อิตาลี, สเปน, โปรตุเกส, ออสเตรีย, เบลเยียม, บัลแกเรีย, โครเอเชีย, ไซปรัส, เช็กเกีย, เดนมาร์ก, เอสโตเนีย, ฟินแลนด์, กรีซ, กรีนแลนด์, ฮังการี, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, ลักเซมเบิร์ก, มอลตา, เนเธอร์แลนด์, นอร์เวย์, โปแลนด์, โรมาเนีย, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, แคนาดา, เปอร์โตริโก, ญี่ปุ่น, ฝรั่งเศส, ฮ่องกง, ภูมิภาคลาตินอเมริกา, ภูมิภาคแคริบเบียน, บรูไน, กัมพูชา, ฟิจิ, ไมโครนีเซีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, ปาเลา, ปาปัวนิวกินี, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, หมู่เกาะโซโลมอน, ไต้หวัน, เวียดนาม และไทย
ข้อมูล
- ↑ 1.0 1.1 หากต้องการทราบวันเผยแพร่ที่แน่ชัดในแต่ละชาติ ให้ดูส่วนย่อย ภูมิภาคที่ใช้งานได้
อ้างอิง
- ↑ Reilly, Luke (September 10, 2015). "Pokémon GO Coming to Smartphones". IGN. Ziff Davis. สืบค้นเมื่อ September 10, 2015.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Webster, Andrew (September 10, 2015). "With Pokémon Go, Nintendo is showing that it takes mobile seriously". The Verge. Vox Media. สืบค้นเมื่อ September 11, 2015.
- ↑ Domanico, Anthony (September 10, 2015). "Catch Pokemon in real life with Nintendo's upcoming mobile game". CNET. CBS Interactive. สืบค้นเมื่อ September 14, 2015.
- ↑ "Pokemon go is brought up into the real world through iOS and Android". GeekSnack. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-12. สืบค้นเมื่อ September 17, 2015.
- ↑ "How Pokémon Go will benefit from Niantic's lessons from Ingress on location-based game design - GamesBeat - Games - by Dean Takahashi". VentureBeat.
- ↑ "Watch Future - Time killers: The strange history of wrist gaming". Polygon.com.
- ↑ Takahashi, Dean (December 16, 2015). "How Pokémon Go will benefit from Niantic's lessons from Ingress on location-based game design". VentureBeat. สืบค้นเมื่อ June 16, 2016.
- ↑ Wilson, Jason. "Pokémon Go launches in US on iOS and Android". Venture Beat. สืบค้นเมื่อ July 7, 2016.
- ↑ Matulef, Jeffrey. "Pokémon GO is out now in Australia and New Zealand". Eurogamer. สืบค้นเมื่อ July 8, 2016.
- ↑ "Pokemon Go Is Available Now on Android Devices". GameSpot. July 6, 2016. สืบค้นเมื่อ July 5, 2016.
- ↑ Warren, Tom (July 13, 2016). "Pokémon Go arrives in Europe with German launch". The Verge. สืบค้นเมื่อ July 13, 2016.
- ↑ "Pokemon Go unleashed in the UK". BBC. July 14, 2016. สืบค้นเมื่อ July 14, 2016.
- ↑ "Pokémon GO available in Italy, Spain, and Portugal – Nintendo Everything" (ภาษาอังกฤษ). July 15, 2016. สืบค้นเมื่อ July 15, 2016.
- ↑ Niantic (July 16, 2016). "[July 16, 2016, Pokémon GO Available in Twenty-Six New Countries]". Pokémon Go. สืบค้นเมื่อ August 8, 2016.
- ↑ "Pokemon Go is officially out in Ireland - GO!". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-17. สืบค้นเมื่อ July 16, 2016.
- ↑ "Pokémon GO is now available in Canada!". สืบค้นเมื่อ July 17, 2016.
- ↑ "El fenómeno de Pokémon Go se acapara de Puerto Rico pese a problemas con servidores". Univision (ภาษาสเปน). No. July 19, 2016. สืบค้นเมื่อ July 19, 2016.
- ↑ ""Pokémon Go" comienza a funcionar en Puerto Rico". Primera Hora (ภาษาสเปน). July 19, 2016. สืบค้นเมื่อ July 19, 2016.
- ↑ 「ポケモンGO」、日本でも配信開始 (ภาษาญี่ปุ่น). Tokyo: Nikkei News. Nikkei Quick New (NQN). July 22, 2016. สืบค้นเมื่อ July 22, 2016.
- ↑ Collins, Yuji (July 18, 2016). "Pokemon Go release delayed in France following Nice attack". CNET. สืบค้นเมื่อ July 24, 2016.
- ↑ Nakamura, Yuji (July 25, 2016). "Nintendo Plunges After Saying Pokemon Go's Impact Is Limited". Bloomberg Technology. สืบค้นเมื่อ July 25, 2016.
- ↑ Niantic (August 3, 2016). "[August 3, 2016, We are excited to share more details about Pokémon GO including the launch across Latin America!]". Pokémon Go. สืบค้นเมื่อ August 8, 2016.
- ↑ Frank, Allegra (August 4, 2016). "Pokémon Go mapping sites were major resource suck, Niantic says". Polygon. Vox Media. สืบค้นเมื่อ August 5, 2016.
- ↑ Niantic (August 6, 2016). "[August 5, 2016, Pokémon GO is now available in countries and regions across Asia and Oceania]". Pokémon Go. สืบค้นเมื่อ August 8, 2016.
- ↑ Wataru Suzuki (August 6, 2016). "'Pokemon Go' invades Southeast Asia". Nikkei Asian Review. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-07. สืบค้นเมื่อ August 8, 2016.
- ↑ Niantic (September 29, 2016). "[September 29, 2016, Pokémon GO available in five new countries and regions]". Pokémon Go.
- ↑ Niantic (September 30, 2016). "[September 30, 2016, Pokémon GO available in six new countries]". Pokémon Go.
- ↑ Niantic (October 4, 2016). "[October 4, 2016, Pokémon GO available in thirty-one new countries]". Pokémon Go.
- ↑ "Pokémon GO available in eight new countries in the Middle East". pokemongo.nianticlabs.com. November 17, 2016.
- ↑ "Pokémon GO is now available in India and other South Asian Countries!". pokemongo.nianticlabs.com. สืบค้นเมื่อ December 13, 2016.
- ↑ Van Boom, Daniel. "Pokemon Go craze finally hits South Korea". CNET. สืบค้นเมื่อ January 24, 2017.
- ↑ "Game Pokemon Go appeared in Russia two years after the world launch". hybridtechcar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-22. สืบค้นเมื่อ January 19, 2019.
- ↑ https://shiftdelete.net/pokemon-go-dan-sevindiren-gelisme
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
| เกมชุดหลัก | | |
---|
เกมย่อย | เกมต่อสู้ / การจัดเก็บ | |
---|
มิสทะรีดันเจียน | |
---|
เรนเจอร์ | |
---|
สแครมเบิล (รัมเบิล) | |
---|
พัซเซิล | |
---|
เกมชุมชน | |
---|
เกมคอลแล็บ | |
---|
อื่น ๆ | |
---|
สมาร์ตโฟน | |
---|
อุปกรณ์พกพา | |
---|
TCG รูปแบบชิป | |
---|
|
---|
|
|
---|
| |
---|
เกมชุดหลัก | |
---|
เกมชุดย่อย | เกมต่อสู้ / การจัดเก็บ | |
---|
มิสทะรีดันเจียน | |
---|
เรนเจอร์ | |
---|
สแครมเบิล (รัมเบิล) | |
---|
พัซเซิล | |
---|
เกมชุมชน | |
---|
เกมคอลแล็บ | |
---|
อื่น ๆ | |
---|
รูปแบบสมาร์ตโฟน | |
---|
อุปกรณ์พกพา | |
---|
TCG รูปแบบชิป | |
---|
|
---|
|
| สื่อรูปแบบอื่น |
---|
อนิเมะ | |
---|
มังงะ | |
---|
ไลฟ์แอคชัน | |
---|
อนาล็อกเกม | |
---|
สินค้าและบริการ | |
---|
ละครโทรทัศน์ |
- การผจญภัยไว้บนกระเป๋าของเธอ
|
---|
รายการโทรทัศน์ | |
---|
|
| | | |
|
|