หลอดลมอักเสบ

หลอดลมอักเสบ
ภาพ A แสดงตำแหน่งของปอดและหลอดลม
ภาพขยาย B แสดงหลอดลมของคนปกติ
ภาพขยาย C แสดงหลอดลมของผู้ป่วย
การออกเสียง
สาขาวิชาInfectious disease, pulmonology
อาการCoughing up mucus, wheezing, shortness of breath, chest discomfort[1]
ประเภทAcute, chronic[1]
ความชุกAcute: ~5% of people a year[2][3]
Chronic: ~5% of people[3]

หลอดลมอักเสบ (อังกฤษ: bronchitis) เป็นการอักเสบที่หลอดลมของปอด[4] ผู้ป่วยจะมีอาการน้ำมูกไหล, จาม, หายใจลำบาก และเจ็บทรวงอก[4] หลอดลมอักเสบสามารถจำแนกออกเป็นสองประเภทคือ: แบบเฉียบพลัน และ แบบเรื้อรัง[4]

หลอดลมอักเสบแบบเฉียบพลันมักมีอาการไอเป็นระยะเวลาราวสามสัปดาห์[5] ซึ่งในผู้ป่วย 90% มักจะมีอาการอักเสบจากเชื้อไวรัสตามมา และไวรัสเหล่านี้สามารถแพร่กระจายผ่านอากาศเมื่อผู้ป่วยไอหรือจาม[5] ซึ่งอาจทำให้ผู้คนรอบข้างติดเชื้อไปด้วย อีกปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หลอดลมอักเสบแบบเฉียบพลันก็คือการสูบยา, ฝุ่น และ มลพิษทางอากาศ[4] ทั้งนี้พบว่ามีผู้ป่วยบางส่วนซึ่งเป็นส่วนน้อย ได้รับแบคทีเรียจากการสูดมลพิษทางอากาศเข้าไปในปริมาณมาก วิธีรักษาหลอดลมอักเสบแบบเฉียบพลันได้แก่การพักผ่อน, รับประทานพาราเซตามอล และ ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ จะช่วยบรรเทาลงได้[6][7]

หลอดลมอักเสบแบบเรื้อรังมักจะปรากฏอาการไอมีเสมหะเป็นระยะเวลาตั้งแต่สามสัปดาห์จนถึงกว่าหนึ่งปี หรืออย่างน้อยสองปี[8] และผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ร่วมด้วย[9] การสูบยาเป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดของกรณีนี้ ในขณะที่มลพิษทางอากาศและพันธุกรรมเป็นสาเหตุส่วนน้อย[10] วิธีรักษาคือการเลิกยาสูบ, การใช้วัคซีน, และทำการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด นอกจากนี้ยังต้องทานยาขยายหลอดลมและคอร์ติโคสตีรอยด์เป็นประจำ[11] ในผู้ป่วยบางคนอาจทำการบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาวร่วมด้วย[11]

หลอดลมอักเสบเป็นหนึ่งในโรคสามัญที่พบได้เป็นส่วนมาก[6][12] ในหนึ่งปีจะมีผู้ใหญ่ราว 5% และเด็กราว 6% ที่เป็นโรคนี้[2][13] ในปี 2010 มีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อทั่วโลกราว 329 ล้านคน หรือคิดเป็น 5% ของประชากรโลก[3] และในแต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ราว 2.7-2.9 ล้านคน[14]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NHLBI2019
  2. 2.0 2.1 Wenzel, RP; Fowler AA, 3rd (16 November 2006). "Clinical practice. Acute bronchitis". The New England journal of medicine. 355 (20): 2125–30. PMID 17108344.
  3. 3.0 3.1 3.2 Vos T, Flaxman AD, Naghavi M, Lozano R, Michaud C, Ezzati M, Shibuya K, Salomon JA, Abdalla S, Aboyans V, และคณะ (December 2012). "Years lived with disability (YLDs) for 1160 sequelae of 289 diseases and injuries 1990–2010: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2010". Lancet. 380 (9859): 2163–96. doi:10.1016/S0140-6736(12)61729-2. PMC 6350784. PMID 23245607. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "YLD2012" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "What Is Bronchitis?". August 4, 2011. สืบค้นเมื่อ 1 April 2015.
  5. 5.0 5.1 Albert, RH (1 December 2010). "Diagnosis and treatment of acute bronchitis". American family physician. 82 (11): 1345–50. PMID 21121518.
  6. 6.0 6.1 Tackett, KL; Atkins, A (December 2012). "Evidence-based acute bronchitis therapy". Journal of pharmacy practice. 25 (6): 586–90. PMID 23076965.
  7. "How Is Bronchitis Treated?". August 4, 2011. สืบค้นเมื่อ 1 April 2015.
  8. Vestbo, Jørgen (2013). "Diagnosis and Assessment" (PDF). Global Strategy for the Diagnosis, Management, and Prevention of Chronic Obstructive Pulmonary Disease. Global Initiative for Chronic Obstructive Lung Disease. pp. 9–17. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-28. สืบค้นเมื่อ 2015-07-30.
  9. Reilly, John J.; Silverman, Edwin K.; Shapiro, Steven D. (2011). "Chronic Obstructive Pulmonary Disease". ใน Longo, Dan; Fauci, Anthony; Kasper, Dennis; Hauser, Stephen; Jameson, J.; Loscalzo, Joseph (บ.ก.). Harrison's Principles of Internal Medicine (18th ed.). McGraw Hill. pp. 2151–9. ISBN 978-0-07-174889-6.
  10. Decramer M, Janssens W, Miravitlles M (April 2012). "Chronic obstructive pulmonary disease". Lancet. 379 (9823): 1341–51. doi:10.1016/S0140-6736(11)60968-9. PMID 22314182.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  11. 11.0 11.1 Rabe KF, Hurd S, Anzueto A, Barnes PJ, Buist SA, Calverley P, Fukuchi Y, Jenkins C, Rodriguez-Roisin R, van Weel C, Zielinski J (September 2007). "Global strategy for the diagnosis, management, and prevention of chronic obstructive pulmonary disease: GOLD executive summary". Am. J. Respir. Crit. Care Med. 176 (6): 532–55. doi:10.1164/rccm.200703-456SO. PMID 17507545.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  12. Braman, SS (January 2006). "Chronic cough due to acute bronchitis: ACCP evidence-based clinical practice guidelines". Chest. 129 (1 Suppl): 95S–103S. PMID 16428698.
  13. Fleming, DM; Elliot, AJ (March 2007). "The management of acute bronchitis in children". Expert opinion on pharmacotherapy. 8 (4): 415–26. PMID 17309336.
  14. GBD 2013 Mortality and Causes of Death, Collaborators (17 December 2014). "Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990-2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013". Lancet. doi:10.1016/S0140-6736(14)61682-2. PMID 25530442. {{cite journal}}: |first1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!