การบริบาลบรรเทา

การรักษาบรรเทา[1], การบริบาลประทัง[1] (อังกฤษ: palliative treatment, palliative care) หรือนิยมเรียกว่าการรักษาแบบประคับประคอง[2][3][4] คือการให้การดูแลรักษาแบบใด ๆ ทางการแพทย์ ที่เน้นไปที่การลดความรุนแรงของอาการของโรค มากกว่าจะหยุด ชะลอ หรือย้อนกระบวนการของโรค หรือรักษาให้หายจากโรค เป้าหมายของการรักษาแบบนี้คือเพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วยที่มีโรครุนแรงหรือซับซ้อนมาก การรักษาบรรเทานี้ไม่จำเป็นต้องขึ้นอยู่กับพยากรณ์โรคของผู้ป่วยว่าดีหรือแย่เพียงใด และสามารถให้พร้อมกันกับการรักษาเพื่อให้หายและการรักษาอื่น ๆ ทั้งหลายได้

ในประเทศสหรัฐอเมริกามีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่างการรักษาบรรเทากับการรักษาระยะสุดท้าย (hospice care) ซึ่งเป็นการให้การรักษาบรรเทากับผู้ป่วยระยะสุดท้าย การรักษาทั้งสองแบบในสหรัฐอเมริกามีหลักการบางอย่างร่วมกันแต่มีแหล่งเงินสนับสนุนคนละแหล่งกัน บ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน.
  2. อัศวธีรากุล, นิรชา (Mar 2013). คู่มือสำหรับประชาชน: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care) (PDF). กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
  3. hfocus (Oct 5, 2019). "ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 40 ล้านคนทั่วโลก มีเพียง 14% เท่านั้น ที่ได้รับการดูแลแบบ Palliative care". hfocus.org. hfocus. สืบค้นเมื่อ Jan 12, 2021.
  4. chulacancer. "มะเร็งระยะแพร่กระจายและการดูแลแบบประคับประคอง". chulacancer.net. chulacancer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-13. สืบค้นเมื่อ Jan 12, 2021.

แม่แบบ:Healthcare

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!