แบคแลช (2007) (อังกฤษ:Backlash (2007))) เป็นรายการเพย์-เพอร์-วิวมวยปล้ำอาชีพของ เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) จัดเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2007 ณ สนามฟิลิบ อารีนา ในเมืองแอตแลนตา, รัฐจอร์เจีย ซึ่งเป็นรายการในลำดับรายการแบคแลช ครั้งที่ 9 และจัดหลังจากศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23 โดยแสดงนักมวยปล้ำจากรอว์, สแมคดาวน์ และ อีซีดับเบิลยู[3][4] ในรายการนี้มีการแข่งขันปล้ำกัน 6 รายการด้วยกัน[5]
เบื้องหลัง/ก่อนถึงศึกแบคแลช
เรื่องราวการชิงแชมป์โลก WWE ระหว่าง จอห์น ซีนา ,เอดจ์, แรนดี ออร์ตัน และ ชอว์น ไมเคิลส์
ในศึก รอยัลรัมเบิล (2007) ชอว์น ไมเคิลส์ ได้เป็น 2 คนสุดท้ายในแมทช์รอยัลรัมเบิล ซึ่งกำลังจะจับเหวี่ยงดิอันเดอร์เทเกอร์ตกเวที แต่กลับเป็นชอว์น ไมเคิลส์ โดย ดิอันเดอร์เทเกอร์เหวี่ยงตกเวทีเป็นคนสุดท้าย ทำให้ดิอันเดอร์เทเกอร์ เป็นผู้ชนะในรอยัลรัมเบิลประจำปี 2007[6][7] ต่อมาในศึกรอว์ (5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007) ชอว์น ไมเคิลส์ ได้กลายเป็นผู้ท่าชิงแชมป์โลก WWE อันดับ 1 ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23 โดยเอาชนะแมทช์การปล้ำสามเส้า ได้แก่ เอดจ์ และแรนดี ออร์ตัน[8] ต่อมาในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23 จอห์น ซีนา สามารถป้องกันชนะ ชอว์น ไมเคิลส์ ในการชิงแชมป์โลก WWE ได้สำเร็จด้วยท่าสับมิสชั่น STFU[9] ต่อมาในศึกรอว์ (9 เมษายน ค.ศ. 2007) ในแมทช์การปล้ำหาผู้ท่าชิงแชมป์โลก WWE อันดับ 1 ระหว่าง ชอว์น ไมเคิลส์ กับ แรนดี ออร์ตัน แต่ปรากฏว่าเสมอกัน เนื่องจากไหล่ของทั้งคู่ติดพื้นและกรรมการนับ 3 ต่อมาในคืนเดียวกัน เอดจ์ ได้ออกมาพูดในรายการตัวเอง The Cutting Edge โดยมาขอร้องผู้จัดการทั่วไปของรอว์โจนาธาน โค้ชแมน ให้เอดจ์ เป็นชิงแชมป์โลก WWE แต่แรนดี ออร์ตัน มาขัดขวาง รวมถึงชอว์น ไมเคิลส์ ต่อมาผู้จัดการทั่วไปของรอว์โจนาธาน โค้ชแมน กำลังออกมาพูดบอกผู้ท่าชิงแชมป์โลก WWE อันดับ 1 มิค โฟลีย์ ได้พา ไมเคิลส์ เพน่า ผู้จัดการทั่วไปของรอว์เฉพาะคืนเดียว และได้ประกาศให้ จอห์น ซีนา ,เอดจ์, แรนดี ออร์ตัน และ ชอว์น ไมเคิลส์ เจอกันในแมทช์การปล้ำสี่เส้า เพื่อชิงแชมป์โลก WWE ในศึกแบคแลช[10]
เรื่องราวการชิงแชมป์โลกเฮฟวีเวท ระหว่าง ดิอันเดอร์เทเกอร์ กับ บาทิสตา
ในศึก รอยัลรัมเบิล (2007) ดิอันเดอร์เทเกอร์ เป็นผู้ชนะในรอยัลรัมเบิลประจำปี 2007[6] ต่อมาในศึกรอว์ (5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007) ดิอันเดอร์เทเกอร์ได้เลือกแชมป์โลกเฮฟวีเวท บาทิสตา ในการชิงแชมป์โลกเฮฟวีเวทในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23[8] ต่อมาในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23 ดิอันเดอร์เทเกอร์ สามารถเอาชนะ บาทิสตา ในการชิงแชมป์โลกเฮฟวีเวท และทำสถิติในเรสเซิลเมเนีย 15-0[11][12][13] ต่อมาในศึกสแมคดาวน์! ผู้จัดการทั่วไปของสแมคดาวน์! ทีโอดอร์ ลอง ได้จัดแมทช์การปล้ำลาสท์แมนสแตนด์ดิ้ง ในการชิงแชมป์โลกเฮฟวีเวท ในศึกแบคแลช[14]
เรื่องราวการชิงแชมป์โลก ECW ระหว่าง ทีมแม็กแมน (อูมาก้า, วินซ์ และเชน แม็กแมน) กับ บ็อบบี แลชลีย์
ในศึกรอว์ (26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007) Donald Trump ได้เลือกนักมวยปล้ำบ็อบบี แลชลีย์ ในการเจอกับนักมวยปล้ำของ วินซ์ แม็กแมน คือ อูมาก้า ในแมทช์นักมวยปล้ำของใครแพ้ คนนั้นจะต้องโดนโกนผม[15] ต่อมาในศึกเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23 นักมวยปล้ำของ Donald Trump คือ บ็อบบี แลชลีย์ ได้เอาชนะนักมวยปล้ำของวินซ์ คือ อูมาก้า ทำให้วินซ์ต้องโดนโกนผม[16] ต่อมาในศึกรอว์ (9 เมษายน ค.ศ. 2007) เชน แม็กแมน ได้เจอกับ บ๊อบบี แลชลี ในการชิงแชมป์โลก ECW โดยมีผมของเชนเป็นเดิมพัน ปรากฏว่าเชนได้ทำฟาล์ว และอูมาก้ากับวินซ์ออกมารุมแลชลีย์ และได้ประกาศว่า ทีมแม็กแมน (อูมาก้า, วินซ์, และ เชน) เจอกับแลชลีย์ ในการชิงแชมป์โลก ECW ในแมทช์ 3 รุม 1 ในศึกแบคแลช[10]
ผลการปล้ำ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "Backlash 2007 results". Pro Wrestling History. สืบค้นเมื่อ 2008-03-29.
- ↑ DiFino, Lennie (2007-05-17). "Daughtry brings it to Backlash". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-19.
- ↑ "WWE Pay-Per-Views To Follow WrestleMania Formula". WWE. 2007-03-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ 2007-11-19.
- ↑ Elliott, Brian (2007-04-29). "No filler makes for a consistent Backlash". SLAM! Sports. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 2007-11-19.
- ↑ "Backlash 2007 results". CompleteWWE.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-18. สืบค้นเมื่อ 2009-08-11.
- ↑ 6.0 6.1 Dee, Louie (2007-01-28). "A Phenom-enal Rumble". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ "Royal Rumble 2007 results". WWE. 2007-01-28. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ 8.0 8.1 Hoffman, Brett (2007-02-05). "Tickets punched for WrestleMania". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Dee, Louie (2007-04-01). "Detroit, Champ City". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ 10.0 10.1 Starr, Noah (2007-10-28). "Redemption". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Hunt, Jen (2007-04-01). "The Streak lives on for the Deadman". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ "Undertaker's first World Heavyweight Championship reign". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ "Undertaker's WrestleMania Legacy". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Difino, Lennie (2007-04-13). "Polar opposites". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Starr, Noah (2007-02-26). "Billionaire's brawlers". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Tello, Craig (2007-04-01). "The 'mane' event". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 17.3 17.4 17.5 17.6 "Backlash 2007 results". Online World of Wrestling. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Rote, Andrew (2007-04-29). "The Hardys survive". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Starr, Noah (2007-04-29). "Melina on top". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Difino, Lennie (2007-04-29). "Rabid resiliency". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-17.
- ↑ Robinson, Bryan (2007-04-29). "Hell freezes over in ECW". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ DiFino, Lennie (2007-04-29). "Stand aside". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
- ↑ Dee, Louie (2007-04-29). "Survive and conquer". WWE. สืบค้นเมื่อ 2007-11-16.
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
| |
---|
ในปัจจุบัน | |
---|
ในอดีต |
- เดอะเรสต์ลิงคลาสสิก (1985)
- ดิสทิวส์เดย์อินเท็กซัส (1991)
- วันไนท์โอนลี (1997)
- แคปิทอลคาร์เนจ (1998)
- เมย์เฮมอินแมนเชสเตอร์ (1998)
- อินยัวร์เฮ้าส์ (1995–1999)
- โนเมอร์ซี (1999)
- โอเวอร์ดิเอดจ์ (1998–1999)
- ฟุลลี่โลดเดด (1998–2000)
- อินเวชั่น (2001)
- คิงออฟเดอะริง (1993–2002)
- รีเบลเลียน (1999–2002)
- อินเซอร์เรกซ์ชั่น (2000–2003)
- แบดบลัด (1997, 2003–2004)
- ดีเซมเบอร์ทูดิสเมมเบอร์ (2006)
- นิวเยียร์สเรโวลูชั่น (2005–2007)
- วันไนท์สแตนด์ (2005–2008)
- อันฟอร์กิฟเว่น (1998–2008)
- ไซเบอร์ซันเดย์ (2004–2008)
- อาร์มาเกดดอน (1999–2000, 2002–2008)
- จัดจ์เมนท์เดย์ (1998, 2000–2009)
- เดอะเกรทอเมริกันแบช (2004–2009)
- เบรกกิ้งพอยท์ (2009)
- ไฟเทอร์โฟร์เวย์ (2010)
- แบรกกิ้ง ไรท์ส (2009–2010)
- แคปิเทล พูนิชเมนท์ (2011)
- เวนเจินส์ (2001–2007, 2011)
- โอเวอร์เดอะลิมิต (2010–2012)
- โนเวย์เอาท์ (1998, 2000–2009, 2012)
- เอ็นเอ๊กซ์ที แอร์ไรวัล (2014)
- คิงออฟเดอะริง (1985–1989, 1991, 1993-2002, 2006, 2008, 2010, 2015, 2021)
- เดอะบีสอินเดอะอีท (2015)
- ไลฟ์ฟรอมเมดิสันสแควร์การ์เดน (2015)
- ครุยเซอร์เวทคลาสสิก (2016)
- โรดบล็อก (2016)
- เกรตบอลส์ออฟไฟร์ (2017)
- แบทเทิลกราวด์ (2013–2017)
- โนเมอร์ซี (1999–2008, 2016–2017)
- แคลชออฟแชมเปียนส์ (2016–2017)
- ยูไนเต็ด คิงดอม แชมเปียนชิป ทัวร์นาเมนต์ (2017)
- เมยังคลาสสิก (2017–2018)
- เกรเทสต์ รอยัลรัมเบิล (2018)
- อีโวลูชัน (2018)
- ซูเปอร์โชว์-ดาวน์ (2018–2020)
- ทีแอลซี: เทเบิลส์แลดเดอส์ & แชส์ (2009–2020)
- เอ็นเอ๊กซ์ที เทคโอเวอร์ (2014–2021)
- เฮลอินเอเซล (2009–2022)
- เอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2009–2022)
|
---|
รายการเพย์-เพอร์-วิวของดับเบิลยูดับเบิลยูอีในปี 2007 |
---|
|