เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
|
|
|
ชื่อ
|
IUPAC name
Dimercury dichloride
|
ชื่ออื่น
Mercury(I) chloride Mercurous chloride Calomel
|
เลขทะเบียน
|
|
|
|
|
ChEBI
|
|
เคมสไปเดอร์
|
|
ECHA InfoCard
|
100.030.266
|
EC Number
|
|
|
25976
|
|
|
RTECS number
|
|
UNII
|
|
UN number
|
3077
|
|
|
InChI=1S/2ClH.2Hg/h2*1H;;/q;;2*+1/p-2 YKey: ZOMNIUBKTOKEHS-UHFFFAOYSA-L Y
|
|
คุณสมบัติ
|
|
Hg2Cl2
|
มวลโมเลกุล
|
472.09 g/mol
|
ลักษณะทางกายภาพ
|
ของแข็งสีขาว
|
ความหนาแน่น
|
7.150 g/cm3
|
จุดหลอมเหลว
|
383 องศาเซลเซียส (721 องศาฟาเรนไฮต์; 656 เคลวิน) (sublimes)
|
|
0.2 mg/100 mL
|
Solubility product, Ksp
|
1.43×10−18[1]
|
ความสามารถละลายได้
|
ไม่ละลายในเอทานอล, อีเทอร์
|
|
−26.0·10−6 cm3/mol
|
|
1.973
|
โครงสร้าง
|
|
เหลี่ยม
|
อุณหเคมี
|
|
196 J·mol−1·K−1[2]
|
|
−265 kJ·mol−1[2]
|
ความอันตราย
|
GHS labelling:
|
|
|
|
เตือน
|
|
H302, H315, H319, H335, H410
|
|
P261, P264, P270, P271, P273, P280, P301+P312, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P312, P321, P330, P332+P313, P337+P313, P362, P391, P403+P233, P405, P501
|
NFPA 704 (fire diamond)
|
|
จุดวาบไฟ
|
ไม่ติดไฟ
|
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
|
|
210 mg/kg (rat, oral)[3]
|
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS)
|
ICSC 0984
|
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
|
|
เมอร์คิวรี(I) ฟลูออไรด์ Mercury(I) bromide Mercury(I) iodide
|
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
เมอร์คิวรี(II) คลอไรด์
|
|
Chemical compound
เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์ (Mercury(I) chloride) เป็นสารประกอบเคมีมีสูตรเป็น Hg2Cl2 ชื่อสามัญเรียก calomel[4] (พบได้น้อยในธรรมชาติ) หรือ mercurous chloride ซึ่งควบแน่นเป็นของแข็งสีขาวหรือขาวอมเหลือง เป็นสารประกอบของ mercury(I) ใช้เป็นส่วนประกอบของอิเล็กโทรดอ้างอิงในเคมีไฟฟ้า[5][6]
ในตำรายาไทย เรียกคาโลเมลว่า โกฐกะเพ่อ นำมาลดพิษโดยกวนกับน้ำดอกไม้เทศและน้ำคั้นจากต้นมะแว้งนก แล้วใส่ถ้วย เผาด้วยไฟจากมูลโค ใช้เป็นยาแก้ไข้ ไอเป็นเลือด ริดสีดวง ในเปอร์เซียใช้รักษาซิฟิลิส[7]
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
|