ฮุสซามุดดีน อัลญัรรอฮี (อาหรับ : حسام الدين الجراحي ; เสียชีวิต ค.ศ. 1202)[ 1] [ 2] เป็นเอมีร์ และแพทย์ ส่วนตัวของเศาะลาฮุดดีน ผู้ก่อตั้งราชวงศ์อัยยูบี และกลายเป็นผู้นำมุสลิม คนสำคัญในช่วงครูเสด เนื่องจากผลงานด้านการแพทย์จำนวนมาก ทำให้ฮุสซามได้รับตำแหน่ง ญัรรอห์ ( جراح ) หมายถึง "ผู้ให้การรักษา" หรือ "ศัลยแพทย์" ในภาษาอาหรับ[ 3] [ 4]
ถึงแม้ว่าจะไม่ทราบวันเกิดอย่างแน่ชัด แต่ฮุสซามทำงานในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12 เขาจัดตั้งซาวิยะฮ์ ที่เน้นด้านศูฟี ที่มีชื่อว่า Zawiya Jarrahiyya ในเยรูซาเลม [ 5] ฮุสซามถูกฝังใต้พื้นดินของสำนักที่ปัจจุบันอยู่ในย่านอัชชัยค์ญัรรอห์ เยรูซาเลมตะวันออก ซึ่งเป็นสถานที่ที่ได้นำชื่อของเขามาใช้[ 6] ใน ค.ศ. 1202 มีการสร้างสุสาน บนที่ฝังศพ และภายหลังกลายเป็นสถานที่สำคัญของมุสลิมสายรหัสยลัทธิ และผู้เยี่ยมชม[ 7]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
↑ Ali, Arafa Abdo (2007). القدس العتيقة مدينة التاريخ والمقدسات (ภาษาอาหรับ). General Authority for Cultural Palaces. p. 53. ISBN 978-977-437-181-3 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-08. สืบค้นเมื่อ 2021-05-08 .
↑ Mohammed, Murad (2008). القدس بين الاجتثاث الصهيوني والمهادنة الدولية (ภาษาอาหรับ). Dar Al-Mawasim. p. 28. ISBN 978-9953-508-06-1 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-07. สืบค้นเมื่อ 2021-05-08 .
↑ The Sheikh Jarrah Affair: The Strategic Implications of Jewish Settlement in an Arab Neighborhood in East Jerusalem เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , JIIS Studies Series no. 404, 2010. Yitzhak Reiter and Lior Lehrs, The Jerusalem Institute for Israel Studies. On [1] เก็บถาวร 2016-03-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
↑ Marim Shahin (2005). Palestine: A Guide . Interlink Books. pp. 328–329 . ISBN 1-56656-557-X .
↑ Hawari, M. (2007). Ayyubid Jerusalem (1187-1250): an architectural and archaeological study (Illustrated ed.). Archaeopress. ISBN 9781407300429 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-08. สืบค้นเมื่อ 2021-05-08 .
↑ Hussain, Jumea (2010). من القدس الى غزة: دراسة فكرية وسياسية (ภาษาอาหรับ). Arab Writers Union. p. 67. ISBN 978-9933-428-75-4 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-08. สืบค้นเมื่อ 2021-05-08 .
↑ Kark, R. and Shimon Landman, The establishment of Muslim neighbourhoods outside the Old City during the late Ottoman period, Palestine Exploration Quarterly , vol 112, 1980, pp 113–135.