สนธิสัญญาลอนดอน (1915)
สนธิสัญญาลอนดอน ข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศส, รัสเซีย, บริเตนใหญ่ และอิตาลี ลงนามที่ลอนดอนในวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1915 ประเภท ข้อตกลงพหุภาคี บริบท การนำอิตาลีเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง วันลงนาม 26 เมษายน ค.ศ. 1915 (1915-04-26 ) ที่ลงนาม ลอนดอน ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ผู้เจรจา
ผู้ลงนาม
ภาคี
กติกาสัญญาลอนดอน (อังกฤษ : London Pact ) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (อังกฤษ : Treaty of London ) ใน ค.ศ. 1915 เป็นสนธิสัญญาลับระหว่างอิตาลี กับฝ่ายไตรภาคี ลงนามในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1915 โดย ราชอาณาจักรอิตาลี สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศสและรัสเซีย[ 1]
ตามข้อความในสนธิสัญญา อิตาลีจะออกจากฝ่ายไตรพันธมิตรแล้วเข้าร่วมกับฝ่ายไตรภาคีแทน ซึ่งระบุไว้แล้วในความตกลงลับที่ลงนามในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 4-5 กันยายน ค.ศ. 1914 ยิ่งไปกว่านั้น อิตาลีจะต้องประกาศสงครามต่อจักรวรรดิเยอรมัน และออสเตรีย-ฮังการี ภายในหนึ่งเดือน (อิตาลีไม่สามารถประกาศสงครามกับเยอรมนีได้ทันเวลา โดยประกาศสงครามใน ค.ศ. 1916) อิตาลียังจะได้รับดินแดนเพิ่มเติมเมื่อสงครามยุติ
ที่การประชุมสันติภาพปารีส ผู้แทนอิตาลียืนยันว่าพวกเขาจะเจรจาเฉพาะกับพันธมิตรยามสงคราม เซอร์เบีย และ มอนเตเนโกร เท่านั้น ไม่ใช่กับศัตรูที่พ่ายแพ้ รวมถึงคณะผู้แทนของราชอาณาจักรเซิร์บ โครแอตและสโลวีน ใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกเขาโกรธมากที่สมาชิกสามคนของคณะผู้แทนเป็นผู้แทนของอดีตออสเตรีย-ฮังการี และหนึ่งคนที่เคยรับราชการเป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีสงครามของออสเตรีย
สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นโมฆะตามสนธิสัญญาแวร์ซาย เพราะประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ผู้สนับสนุนการอ้างของสลาฟและไม่ยอมรับสนธิสัญญาดังกล่าว ปฏิเสธคำร้องขอดินแดนดัลเมเชีย ของอิตาลี[ 2] อิตาลียังได้ปฏิเสธความตกลงที่ผ่านมาของสนธิสัญญาในการขยายจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ด้วยอาณานิคมในเอเชียและแอฟริกาของเยอรมนี และอ้างสิทธิ์เหนือแอลเบเนียแทน[ 3]
อ้างอิง
↑ Ray Stannard Baker Woodrow Wilson and world settlement, Volume 1 Publisher: Double Day Page and Company 1923 Harvard College Library pages 52–55 [1]
↑ American Society of International Law Volume 15, Oxford University Press 1921 Library of the University of Michigan, page 253 [2]
↑ http://www.firstworldwar.com/source/london1915.htm
ข้อมูล
Agreement between France, Russia, Great Britain and Italy, signed at London, April 26, 1915 . London: H.M. Stationery Office . 1920. OCLC 807191361 – โดยทาง Wikisource .
Banac, Ivo (1984). The National Question in Yugoslavia: Origins, History, Politics . Ithaca: Cornell University Press . ISBN 0-8014-1675-2 .
Burgwyn, H. James (1997). Italian Foreign Policy in the Interwar Period 1918–1940 . Westport: Praeger Publishers . ISBN 9780275948771 .
Glenny, Misha (2012). The Balkans, 1804–2012: Nationalism, War and the Great Powers . Toronto: House of Anansi Press . ISBN 978-1-77089-273-6 .
Hall, Richard C. (2014). Consumed by War: European Conflict in the 20th Century . Lexington: University Press of Kentucky . ISBN 9780813159959 .
Hill, Chesney (1934). The Doctrine of "rebus Sic Stantibus" in International Law . Vol. IX. Columbia: University of Missouri . OCLC 1876470 .
Knox, MacGregor (2007). To the Threshold of Power, 1922/33: Origins and Dynamics of the Fascist and Nationalist Socialist Dictatorships . Vol. I. Cambridge: Cambridge University Press . ISBN 978-0-521-87860-9 .
Lampe, John R. (2000). Yugoslavia as History: Twice There Was a Country (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-77357-1 .
Lowe, C. J. (1969). "Britain and Italian Intervention, 1914–1915" . The Historical Journal . Cambridge: Cambridge University Press . XII (3): 533–548. ISSN 0018-246X .
Mitrović, Andrej (2003). "The Yugoslav Question, the First World War and the Peace Conference, 1914–1920". ใน Djokic, Dejan (บ.ก.). Yugoslavism: Histories of a Failed Idea, 1918–1992 . London: C. Hurst & Co. pp. 42–56. ISBN 1-85065-663-0 .
Morgan, Philip (2004). Italian Fascism, 1915–1945 . New York: Palgrave Macmillan . ISBN 978-1-4039-3251-8 . [ลิงก์เสีย ]
Pavlović, Vojislav G (2019). "Italy and the Creation of Yugoslavia. Delenda Austria?". ใน Pavlović, Vojislav G. (บ.ก.). Serbia and Italy in the Great War . Belgrade: Institute for Balkan Studies . pp. 245–278. ISBN 9788671791038 .
Pavlowitch, Kosta St. (2003). "The First World War and Unification of Yugoslavia". ใน Djokic, Dejan (บ.ก.). Yugoslavism: Histories of a Failed Idea, 1918–1992 . London: C. Hurst & Co. pp. 27–41. ISBN 1-85065-663-0 .
Ramet, Sabrina P. (2006). The Three Yugoslavias: State-building and Legitimation, 1918–2005 . Bloomington: Indiana University Press . ISBN 9780253346568 .
Riccardi, Luca (2019). "Italy and the Entente in the First World War: The Policy of Sidney Sonnino". ใน Pavlović, Vojislav G. (บ.ก.). Serbia and Italy in the Great War . Belgrade: Institute for Balkan Studies . pp. 43–80. ISBN 9788671791038 .
Robbins, Keith (1971). "British Diplomacy and Bulgaria 1914–1915" . The Slavonic and East European Review . London: Modern Humanities Research Association. 49 (117): 560–585. ISSN 0037-6795 .
Seton-Watson, Robert (1926). "Italian Intervention and the Secret Treaty of London" . The Slavonic Review . London: Modern Humanities Research Association. V (14): 271–297.
Trubetskoi, Grigorii N. (2016). Notes of a Plenipotentiary: Russian Diplomacy and War in the Balkans, 1914–1917 . Ithaca: Cornell University Press . ISBN 9781501757327 .
Velikonja, Mitja (2003). "Slovenia's Yugoslav Century". ใน Djokic, Dejan (บ.ก.). Yugoslavism: Histories of a Failed Idea, 1918–1992 . London: C. Hurst & Co. pp. 84–99. ISBN 1-85065-663-0 .
Živojinović, Dragoljub (2019). "Serbia and the 1915 Treaty of London". ใน Pavlović, Vojislav G. (บ.ก.). Serbia and Italy in the Great War . Belgrade: Institute for Balkan Studies . pp. 121–136. ISBN 9788671791038 .
อ่านเพิ่ม