สงครามกลางเมืองซูดานใต้

สงครามกลางเมืองซูดานใต้
ส่วนหนึ่งของ ความรุนแรงระหว่างชาติพันธุ์ในประเทศซูดานใต้[28][29]
และสงครามกลางเมืองซูดาน

สถานการณ์ทางทหารในซูดานใต้ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2020
  ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลซูดานใต้
  ภายใต้การควบคุมของSudan People's Liberation Movement-in-Opposition
  ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลซูดาน
(สำหรับแผนที่สถานการณ์ทางทหารปัจจุบันที่มีรายละเอียดมากกว่านี้ ดู)
วันที่15 ธันวาคม ค.ศ. 2013[30] – 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020
(6 ปี 2 เดือน 1 สัปดาห์ 1 วัน)
สถานที่
ผล

หยุดยืง

ผู้มีส่วนร่วม

ซูดานใต้ ซูดานใต้

กองกำลังพันธมิตร:
SSLM[2]
SRF

EUPF[9] (กล่าวหา)
รัฐพันธมิตร:
 ยูกันดา[10]
 อียิปต์[11] (กล่าวหา)

สหประชาชาติ UNMISS[12]

ซูดานใต้ SPLM-IO[14]
Nuer White Army[15]

TFNF[22]
SSFDP[23]
กองทัพแห่งชาติซูดานใต้[24][25]
NAS
Arrow Boys (ตั้งแต่พฤศจิกายน ค.ศ. 2015)
ซูดานใต้ การปะทะในรัฐเวา[26]
ซูดานใต้ SSOA (จนถึงกันยายน ค.ศ. 2018)
ซูดานใต้ SSNDA and SSOMA (จนถึงมกราคม ค.ศ. 2020)
สนับสนุนโดย:

 ซูดาน (อ้างสิทธิโดยรัฐบาลซูดานใต้)[27]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ซูดานใต้ ซัลวา กีร์ มายาร์ดิต
(ประธานาธิบดีซูดานใต้)
ซูดานใต้ Gabriel Jok Riak (ตั้งแต่ ค.ศ. 2018)
ซูดานใต้ เจมส์ อาโจโง มาวุต (2017–2018)
ซูดานใต้ พอล มาลง อาวัน (2014–17)
ซูดานใต้ เจมส์ ฮอธ ไม (จนถึง ค.ศ. 2014)[31]
ซูดานใต้ Kuol Manyang Juuk
ซูดานใต้ Peter Par Jiek 
ยูกันดา โยเวรี มูเซเวนี
ยูกันดา Katumba Wamala
Matthew Puljang[2]
สหประชาชาติ เดวิด เชียเรอร์ (ตั้งแต่ ค.ศ. 2016)
สหประชาชาติ Ellen Margrethe Løj (2014–2016)
สหประชาชาติ Hilde Frafjord Johnson (จนถึง ค.ศ. 2014)
ซูดานใต้ Riek Machar[32][33]
(ผู้นำ SPLM-IO)
ซูดานใต้ Paulino Zangil[c]
ซูดานใต้ Thomas Cirilo
ซูดานใต้ Gabriel Changson Chang
ซูดานใต้ Peter Gadet (เสียชีวิต ค.ศ. 2019)
ซูดานใต้ Lam Akol
Khalid Botrous[19] (2016–ปัจจุบัน)
David Yau Yau[d] (2013–2016)
ซูดานใต้ John Uliny[20][21]
ซูดานใต้ Gabriel Tang 
Yoanis Okiech [22][35]
Paul Malong Awan (ตั้งแต่ ค.ศ. 2018)
กำลัง
SPLA: 150,000 (2015)[36]
ยูกันดา: มากกว่า 5,000 นาย (2014)[37]
12,523 นาย (2015)[12][38]
ทหาร 15,000 นาย (2019)[39]
ตำรวจ 1,800 นาย (2019)[39]
SPLM-IO: ผู้แปรพักตร์อย่างน้อย 10,000 นาย[40][41][42]
Nuer White Army: 25,000 (2013)[15][43]
NAS: มากกว่า 20,000 นาย (NAS อ้าง, 2017)[44]
SSPA: 15,000 (SSPA อ้าง, 2017)[45]
ความสูญเสีย
เสียชีวิต 10,659 นาย, บาดเจ็บ 9,921 นาย (มกราคม – ตุลาคม ค.ศ. 2014)[46]
ยูกันดาเสียชีวิต 21 นาย (ณ มกราคม ค.ศ. 2014)[47]
ผู้รักษาสันติภาพเสียชีวิต 5 คน (ณ สิงหาคม ค.ศ. 2015)[48] ไม่ทราบ
เสียชีวิตอย่างรุนแรง 190,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018)[49]
เสียชีวิตจากการเกี่ยวข้องกับสงครามที่ไม่รุนแรง 193,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018)[49]
รวมเสียชีวิต 383,000 คน (เมษายน ค.ศ. 2018)
พลเมืองหนีออกจากซูดานใต้มากกว่า 1.5 ล้านคนและพลัดถิ่นภายในประเทศมากกว่า 2.1 ล้านคน (ณ ค.ศ. 2017)[50]
พลเมืองเคนยาเสียชีวิต 4 คน[51]

สงครามกลางเมืองซูดานใต้ เป็นสงครามกลางเมืองในซูดานใต้ระหว่างกองทัพของรัฐบาลและฝ่ายต่อต้าน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2013 ประธานาธิบดีกีร์กล่าวหา Riek Machar อดีตรองประธานาธิบดีกับผู้อื่นอีก 10 คนว่าพยายามก่อรัฐประหาร[52][53] Machar ปฏิเสธข้อกล่าวหาและหลบหนีไปนำ SPLM – ฝ่ายต่อต้าน (SPLM-IO)[54] ทำให้เกิดการต่อสู้ระหว่าง Sudan People's Liberation Movement (SPLM) กับ SPLM-IO ซึ่งภายหลังลุกลามเป็นสงครามกลางเมือง ทหารยูกันดาสู้รบร่วมกับกำลังรัฐบาลซูดานใต้ต่อกบฏ[55] สหประชาชาตินำผู้รักษาสันติภาพเข้าในประเทศตามภารกิจสหประชาชาติในซูดานใต้ (UNMISS)[56]

คาดว่ามีผู้เสียชีวิตจากสงครามประมาณ 400,000 คน ณ เมษายน ค.ศ. 2018 ซึ่งรวมความโหดร้ายที่สำคัญอย่างการสังหารหมู่ที่ Bentiu ใน ค.ศ. 2014[49] ถึงแม้ว่าทั้งสองฝ่ายมีผู้สนับสนุนการแบ่งแยกทางชาติพันธุ์ในประเทศ แต่การต่อสู้ที่ตามมาก็มีนัยยะทางชาติพันธุ์ กลุ่มชาติพันธ์ Dinka ของกีร์ถูกกล่าวหาว่าโจมตีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นและกลุ่มชาติพันธ์ุ Nuer ของ Machar ก็ถูกกล่าวหาว่าโจมตีกลุ่มชาติพันธุ์ Dinka[57] มีประชากรพลัดถิ่นมากกว่า 4 ล้านคน ในจำนวนนี้มีประมาณ 1.8 ล้านคนที่พลัดถิ่นในประเทศ และประมาณ 2.5 ล้านที่หนีไปประเทศเพื่อนบ้าน โดเฉพาะประเทศยูกันดาและซูดาน[58] การต่อสู่ที่ใจกลางพื้นที่การเกษตรทางตอนใต้ของประเทศทำให้มีประชากรอดอยากสู่ถึง 6 ล้านคน[59] ทำให้ในบางพื้นที่เกิดทุกภิกขภัยขึ้น[60] เศรษฐกิจของประเทศก็ได้รับผลกระทบ โดยรายงานจาก IMF ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2017 ระบุว่ารายได้จริงถูกลดครึ่งหนึ่งมาตั้งแต่ ค.ศ. 2013 และอัตราเงินเฟ้อมีมากกว่า 300% ต่อปี[61]

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. SPLM-IO กล่าวหา JEM ว่าสนับสนุนรัฐบาลกีร์ตั้งแต่ ค.ศ. 2013 แม้ว่า JEM ปฏิเสธการมีส่วนร่วมและข้ออ้างเพื่อรักษาความเป็นกลางในสงครามกลางเมืองซูดานใต้[3] อย่างไรก็ตาม รัฐบาลซูดาน[4] เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือ[3] และข้อมูลอื่น ๆ[5] ได้ยืนยันว่า JEM มีส่วนในความขัดแย้งในฝ่ายรัฐบาลซูดานใต้[6]
  2. กลุ่ม Cobra Faction ต่อต้านรัฐบาลอย่างเปิดเผยจนถึง ค.ศ. 2014 และยังคงเป็นแนวร่วมต่อต้านจนถึง ค.ศ. 2015 เมื่อแบ่งออกเป็นฝ่ายสนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายสนับสนุน SPLM-IO ซึ่งกลุ่มหลังนี้ได้จัดตั้งกองกำลัง Greater Pibor ขึ้น ในช่วงต้น ค.ศ. 2016 Cobra Faction ยุบเลิกลงอย่างชัดเจนเมื่อกลุ่มที่เหลือได้เข้าร่วมรัฐบาล[16][17][18] อย่างไรก็ตาม ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2016 กลุ่ม Cobra Faction ได้มีการประกาศฟื้นฟูโดยผู้บัญชาการบางคน และประกาศว่ากลับมาต่อสู้กับรัฐบาลอีกครั้ง[19]
  3. Zangil ดำรงตำอหน่งผู้บัญชาการ SSDM/A - Cobra Faction ตั้งแต่ ค.ศ. 2013 จนกระทั่งเขาละทิ้งกองกำลังส่วนใหญ่ไปยัง SPLM-IO ใน ค.ศ. 2015 โดยทำการจัดตั้ง "Greater Pibor Forces"[16][17]
  4. Yau Yau นำกลุ่ม SSDM/A - Cobra Faction ต่อต้านรัฐบาล SPLM อย่างเปิดเผยจนถึง ค.ศ. 2014 และมีสถานะปกครองตนเองอย่างสงบจนถึง ค.ศ. 2015 เมื่อกองทัพส่วนหนึ่งแปรพักตร์เข้า SPLM-IO ใน ค.ศ. 2016 เขากับกกลุ่มที่จงรักภักดีต่อเขาเข้าร่วม SPLM[16][18][34]

อ้างอิง

  1. James Copnall (21 August 2014). "Ethnic militias and the shrinking state: South Sudan's dangerous path". African Arguments. สืบค้นเมื่อ 15 September 2018.
  2. 2.0 2.1 "Kiir's Dinka Forces Join SSLA Rebels". Chimpreports. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2014. สืบค้นเมื่อ 22 December 2013.
  3. 3.0 3.1 Small Arms Survey (2014), p. 7.
  4. Small Arms Survey (2014), pp. 14, 17.
  5. 5.0 5.1 "South Sudan deploys more troops to Upper Nile as fighting intensifies". South Sudan News Agency. 9 February 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-09. สืบค้นเมื่อ 9 February 2017.
  6. Small Arms Survey (2014), pp. 7, 11, 14.
  7. Small Arms Survey (2014), pp. 10, 11, 20.
  8. 8.0 8.1 Craze, Tubiana & Gramizzi (2016), p. 160.
  9. "Ethiopian opposition leader denies supporting South Sudan against rebels". Sudan Tribune. 6 April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-21. สืบค้นเมื่อ 25 January 2019.
  10. Clottey, Peter (22 October 2015). "Uganda Begins Troop Withdrawal from South Sudan". VOA News. สืบค้นเมื่อ 22 October 2015.
  11. "Egypt supports South Sudan to secure Nile share". Al Monitor. 24 February 2015.
  12. 12.0 12.1 "United Nations Mission in the Republic of South Sudan". UNMISS Facts and Figures. UN. สืบค้นเมื่อ 23 January 2012.
  13. "Mandate". United Nations Mission in South Sudan (UNMISS). 16 October 2015.
  14. "South Sudan oil town changes hands for fourth time. Why?". The Christian Science Monitor. 5 May 2014. สืบค้นเมื่อ 2 October 2014.
  15. 15.0 15.1 "South Sudan: 'White Army' militia marches to fight". USA Today. 28 December 2013.
  16. 16.0 16.1 16.2 "David Yau Yau surrenders Cobra-faction to a General linked to the SPLA-IO: Cobra-faction's splinter group". South Sudan News Agency. 12 January 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  17. 17.0 17.1 17.2 "Murle faction announces defection to S. Sudan rebels". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 13 May 2016.
  18. 18.0 18.1 "South Sudan's Boma state violence displaces hundreds". Sudan Tribune. 31 March 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-30. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  19. 19.0 19.1 "Top Cobra Faction general defects from Kiir government". Radio Tamazuj. 27 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2016. สืบค้นเมื่อ 27 September 2016.
  20. 20.0 20.1 "Johnson Olony's forces prefer independent command in Upper Nile state". sudantribune.com. 17 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-10. สืบค้นเมื่อ 23 June 2015.
  21. 21.0 21.1 "Government Questions SPLM/A-IO About The Position Of Gen. Johnson Olony". gurtong. 2 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-07. สืบค้นเมื่อ 12 July 2016.
  22. 22.0 22.1 "The Conflict in Upper Nile". www.smallarmssurveysudan.org. 8 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-24. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  23. "S. Sudan's Otuho rebels unveil objectives for armed struggle". Sudan Tribune. 4 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 20 December 2015.
  24. "South Sudan General Gathoth Gatkuoth explains to Karin Zeitvogel why he broke with Riek Machar". voanews.com. 12 August 2015. สืบค้นเมื่อ 15 August 2015.
  25. "Changson dismisses Gathoth Gatkuoth as FDP group splits over advance team to Juba". sudantribune.com. 12 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 5 January 2016.
  26. "S. Sudan army in control of Wau town after heavy gunfire". sudantribune.com. 12 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12. สืบค้นเมื่อ 26 June 2016.
  27. "S. Sudan rebels accuse government of backing Ethiopian rebels". Sudan Tribune. 18 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-26. สืบค้นเมื่อ 6 April 2019.
  28. "It wasn't a coup: Salva Kiir shot himself in the foot", South Sudan nation, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-12, สืบค้นเมื่อ 2016-12-03
  29. Burke, Jason (12 July 2016). "South Sudan: is the renewed violence the restart of civil war?". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 14 July 2016.
  30. "South Sudan on verge of civil war, death toll rises". Daily Sabah. 12 July 2016.
  31. "South Sudan's president sacks army chief". The Daily Star. Lebanon. 23 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-17. สืบค้นเมื่อ 24 July 2014.
  32. "South Sudan rebel leader sets out conditions for talks". Trust. Thomson Reuters Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-15. สืบค้นเมื่อ 24 December 2013.
  33. Daniel Howden in Juba (23 December 2013). "South Sudan: the state that fell apart in a week". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 24 December 2013.
  34. "Pibor's Yau Yau joins SPLM". Sudan Tribune. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  35. "Another S Sudanese rebel commander killed near Sudan border". Radio Tamazuj. 7 January 2017. สืบค้นเมื่อ 8 January 2017.
  36. IISS 2015.
  37. "Major role for Ugandan army in South Sudan 'until the country is stable'". Radio Tamazuj. 31 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-12-03. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
  38. "South Sudan". The United Nations. CA. 23 มิถุนายน 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 เมษายน 2015. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2015.
  39. 39.0 39.1 "Pride and reverence reign as UNMISS celebrates International Day of UN Peacekeepers in South Sudan". UN. 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
  40. "South Sudan's army advances on rebels in Bentiu and Bor". BBC. 9 January 2014. สืบค้นเมื่อ 9 January 2014.
  41. "South Sudan rebels claim 700 government troops defect". The Daily Star. 6 February 2014.
  42. "South Sudan army advances on rebel towns before peace talks". Reuters. 2 January 2014.
  43. "South Sudan forces battle White Army". The Daily Star. LB. 29 December 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-29. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  44. "Thousands of Machar-led fighters "defect" to new rebel group". Sudan Tribune. 29 July 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-26. สืบค้นเมื่อ 16 August 2017.
  45. "South Sudan army denies rebel capture of military base in Aweil". Sudan Tribune. 17 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-21. สืบค้นเมื่อ 14 June 2018.
  46. "South Sudan's military casualties top 20,000". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2016.
  47. "South Sudan President Salva Kiir hits out at UN". BBC. 21 January 2014.
  48. "South Sudan rebels split, reject peace efforts". News. Yahoo. 11 August 2015.
  49. 49.0 49.1 49.2 "Study estimates 190,000 people killed in South Sudan's civil war". Reuters. 26 September 2018. สืบค้นเมื่อ 26 September 2018.
  50. "Daily Press Briefing by the Office of the Spokesperson for the Secretary-General". United Nations. 10 February 2017.
  51. "4 Kenyans dead as South Sudan evacuation ends". KE: Capital FM. สืบค้นเมื่อ 3 January 2013.
  52. Koos, Carlo; Gutschke, Thea (2014). "South Sudan's Newest War: When Two Old Men Divide a Nation". GIGA Focus International Edition (2). สืบค้นเมื่อ 1 September 2016.
  53. Kulish, Nicholas (9 January 2014). "New Estimate Sharply Raises Death Toll in South Sudan". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2 February 2014.
  54. "South Sudan opposition head Riek Machar denies coup bid". bbcnews.com. 18 December 2013. สืบค้นเมื่อ 18 December 2013.
  55. "Yoweri Museveni: Uganda troops fighting South Sudan rebels". BBC News. 16 January 2014.
  56. "South Sudan country profile". BBC News. 6 August 2018.
  57. "South Sudan 'coup leaders' face treason trial". BBC News. 29 January 2014.
  58. "A new report estimates that more than 380,000 people have died in South Sudan's civil war". Washington Post. 26 September 2018. สืบค้นเมื่อ 26 September 2018.
  59. "Starvation threat numbers soar in South Sudan". aljazzera. 25 November 2016.
  60. "South Sudan declares famine in Unity State". BBC News. 20 February 2017. สืบค้นเมื่อ 20 February 2017.
  61. "As South Sudan implodes, America reconsiders its support for the regime". The Economist. 12 October 2017.

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!