วินโดวส์เอ็นที
วินโดวส์เอ็นที (Windows NT) เป็นกลุ่มสายผลิตภัณฑ์ระบบปฏิบัติการพัฒนาโดยไมโครซอฟท์ ซึ่งรุ่นแรกออกเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2536 (ค.ศ. 1993) โดยแรกเริ่มได้ออกแบบให้มีสมรรภาพสูง ไม่ขึ้นอยู่กับหน่วยประมวลผล และรองรับหลายหน่วยประมวลผล หลายผู้ใช้พร้อมๆกัน วินโดวส์เอ็นทียังเป็นรุ่นแรกที่เป็น 32-บิตเต็มตัว ซึ่งวินโดวส์ 11 และ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2022 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นล่าสุดที่ใช้ฐานเอ็นที แม้ว่าปัจจุบันนี้ไม่ใช่ชื่อเอ็นทีแล้วก็ตาม
ความสามารถหลัก
เป้าหมายหลักในการออกแบบคือการรองรับหลายสถาปัตยกรรม โดยซอฟต์แวร์ไม่ต้องเขียนขึ้นใหม่สำหรับแต่ละหน่วยประมวลผล ซึ่งทำให้เอ็นทีนั้นมีรุ่นสำหรับสถาปัตยกรรมหน่วยประมวลผลต่างๆอย่าง อินเทล, IA-32, MIPS, อัลฟา และเพาเวอร์พีซี โดยความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์นั้นเป็นไปได้ด้วยการรองรับหลายรูปแบบ API ด้วยกัน
ในเรื่องความปลอดภัยสำหรับหลายผู้ใช้ เอ็นทีรองรับ Acess Control Lists (ACL) โดยสามารถกำหนดสิทธิการอนุญาตได้หลากหลายสำหรับแต่ละออปเจกต์ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ ฟังก์ชัน ผู้ใช้ หรือกลุ่มผู้ใช้เป็นต้น
วินโดวส์เอ็นทีรองรับโพรโทคอลวินโดวส์เน็ตเวิร์ก รวมถึงยูนิกต์ TCP/IP
ระบบไฟล์ NTFS นั้นยังได้ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับวินโดวส์เอ็นที แต่เอ็นทีก็สามารถติดตั้งได้บนระบบไฟล์อื่นๆ เช่นกัน
รุ่นอย่างเป็นทางการ
เวอร์ชัน |
ชื่อรุ่น |
รุ่น |
วันเปิดตัว |
รุ่นพัฒนา
|
3.1 |
วินโดวส์ เอ็นที 3.1 |
- |
27 กรกฎาคม 1993 |
528
|
3.5 |
วินโดวส์ เอ็นที 3.5 |
Workstation, Server |
21 กันยายน 1994 |
807
|
3.51 |
วินโดวส์ เอ็นที 3.51 |
30 พฤษภาคม
1995
|
1057
|
4.0 |
วินโดวส์ เอ็นที 4.0 |
Workstation,Server , Server Enterprise Edition, Terminal Server, Embedded |
24สิงหาคม 1996 |
1381
|
5.0 |
วินโดวส์ 2000 |
Professional, Server, Advanced Server |
17 กุมภาพันธ์ 2000 |
2195
|
Datacenter Server |
26 กันยายน 2000
|
5.1 |
วินโดวส์ เอกซ์พี |
Home, Professional, Media Center (original, 2004 & 2005), Tablet PC (original and 2005), Starter, Embedded, Home N, Professional N |
25 ตุลาคม 2001 |
2600
|
วินโดวส์ Fundamentals for Legacy PCs |
— |
8 กรกฎาคม 2006
|
5.2 |
วินโดวส์ เอกซ์พี |
64-bit Edition Version 2003[1] |
28 มีนาคม 2003 |
3790
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 |
Standard, Enterprise, Datacenter, Web, Storage, Small Business Server, Compute Cluster |
24 เมษายน 2003
|
วินโดวส์ เอกซ์พี |
Professional x64 Edition |
25 เมษายน 2005
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 R2 |
Standard, Enterprise, Datacenter, Web, Storage, Small Business Server, Compute Cluster |
6 ธันวาคม 2005
|
วินโดวส์ โฮมเซิร์ฟเวอร์ |
— |
16 กรกฎาคม 2007
|
6.0 |
วินโดวส์ วิสตา |
Starter, Home Basic, Home Premium, Business, Enterprise, Ultimate, Home Basic N, Business N
|
|
- 6000 (RTM)
- 6001 (SP1)
- 6002 (SP2)
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008 |
Foundation, Standard, Enterprise, Datacenter, Web Server, HPC Server, Itanium-Based Systems[2] |
27 กุมภาพันธ์ 2008
|
|
6.1[3]
|
วินโดวส์ 7
|
Starter, Home Basic, Home Premium, Professional, Enterprise, Ultimate[4]
|
22 ตุลาคม 2009
|
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008 R2
|
Foundation, Standard, Enterprise, Datacenter, Web Server, HPC Server, Itanium-Based Systems
|
วินโดวส์ โฮมเซิร์ฟเวอร์ 2011 |
— |
6 เมษายน 2011
|
|
6.2
|
วินโดวส์ 8[5]
|
วินโดวส์ 8, วินโดวส์ 8 Pro, วินโดวส์ 8 Enterprise, วินโดวส์ RT[6]
|
26 ตุลาคม 2012
|
9200
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2012[7]
|
Foundation, Essentials, Standard, Datacenter[8]
|
4 กันยายน 2012
|
6.3[9]
|
วินโดวส์ 8.1
|
วินโดวส์ 8.1, วินโดวส์ 8.1 Pro, วินโดวส์ 8.1 Enterprise, วินโดวส์ RT 8.1
|
18 ตุลาคม 2013
|
9600[10]
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2012 R2
|
Foundation, Essentials, Standard, Datacenter
|
10.0[11]
|
วินโดวส์ 10
|
Home, Pro, Pro Education, Enterprise, Education, วินโดวส์ 10 S, IoT Core, Mobile, Mobile Enterprise[12][13]
|
29 กรกฎาคม 2015
|
- 10240 (1507/RTM)
- 10586 (1511)
- 14393 (1607)
- 15063 (1703)
- 16299 (1709)
- 17134 (1803)
- 17763 (1809)
- 18362 (19H1)
- 18363 (19H2)
- 19041 (20H1)
- 19042 (20H2)
- 19043 (21H1)
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2016 |
Essentials, Standard, Datacenter, MultipointPremium Server, Storage Server, Hyper-V Server |
26 กันยายน 2016
|
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2019 |
Essentials, Standard, Datacenter, Multipoint Premium Server, Hyper-V Server |
2 ตุลาคม 2018
|
|
วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2022 |
18 สิงหาคม 2021
|
|
วินโดวส์ 11 |
Home Single Language, Home China, Home, Pro, Education, Pro Education, Pro for Workstations, Enterprise, IoT Enterprise, Windows 11 SE |
5 ตุลาคม 2021
|
|
อ้างอิง
- ↑ "Microsoft Releases วินโดวส์ เอกซ์พี 64-Bit Edition Version 2003 to Manufacturing". มีนาคม 2003. สืบค้นเมื่อ มกราคม 14, 2008.
- ↑ "Overview of Editions". วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008. Microsoft. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 18, 2009.
- ↑ "Operating System Versioning". Microsoft Developer Network. Microsoft. พฤษภาคม 20, 2009. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 6, 2009.
- ↑ LeBlanc, Brandon (กุมภาพันธ์ 4, 2009). "A closer look at the วินโดวส์ 7 SKUs". Blogging วินโดวส์. Microsoft. สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 5, 2009. [ลิงก์เสีย]
- ↑ Developer network, Microsoft
- ↑ LeBlanc, Brandon (เมษายน 16, 2012). "Announcing the วินโดวส์ 8 Editions". Blogging วินโดวส์. Microsoft. สืบค้นเมื่อ เมษายน 17, 2012. [ลิงก์เสีย]
- ↑ วินโดวส์ valley [ลิงก์เสีย].
- ↑ "วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2012 Editions". เซิร์ฟเวอร์ cloud. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 8, 2012.
- ↑ "Microsoft's วินโดวส์ Blue looks to be named วินโดวส์ 8.1", ZDNet
- ↑ Warren, Tom (สิงหาคม 24, 2013). "วินโดวส์ 8.1 is ready for its ตุลาคม 17th release". The Verge. Vox Media.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Thurrott, Paul (พฤศจิกายน 22, 2014). "Microsoft Confirms that วินโดวส์ 10 will also be Version 10 Iเอ็นทีernally". SuperSite for วินโดวส์. Peเอ็นทีon Media.
- ↑ Prophet, Tony (พฤษภาคม 13, 2015). "Iเอ็นทีroducing วินโดวส์ 10 Editions". Microsoft. [ลิงก์เสีย]
- ↑ Foley, Mary Jo (กรกฎาคม 27, 2016). "Microsoft to add new วินโดวส์ 10 Pro Education edition to its line-up". ZDNet. CBS Iเอ็นทีeractive.
- Dave Cutler's preface to Mark Russinovich, David A. Solomon. Microsoft Windows Internals, (Fourth Edition), Microsoft Press. ISBN 0-7356-1917-4
|
|