รอตเทอร์ดามบลิทซ์

รอตเทอร์ดาม บลิตซ์
ส่วนหนึ่งของ การบุกครองเนเธอร์แลนด์

Rotterdam's city centre after the bombing. The heavily damaged (now restored) St. Lawrence church stands out as the only remaining building reminiscent of Rotterdam's medieval architecture.
วันที่14 May 1940
สถานที่51°57′51.95″N 4°27′4.45″E / 51.9644306°N 4.4512361°E / 51.9644306; 4.4512361
ผล

รอตเทอร์ดามยอมจำนน

  • พลเรือนเสียชีวิต 884 คน
  • สภาพถูกทำลายของรอตเทอร์ดาม
คู่สงคราม
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ นาซีเยอรมนี เยอรมนี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี แฮร์มันน์ เกอริง
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
Luchtvaartafdeling (LVA)
Marine Luchtvaartdienst (MLD)
Luftflotte 2
กำลัง
No remaining operational fighter aircraft[1] ~80 aircraft directly involved
~700 involved in concurrent operations
ความสูญเสีย
884 civilians killed
LVA and MLD virtually destroyed.[2]
None

การทิ้งระเบิดของเยอรมันที่รอตเทอร์ดาม หรือเป็นที่รู้จักกันว่า รอตเทอร์ดาม บลิตซ์ (การโจมตีสายฟ้าแลบที่รอตเทอร์ดาม) เป็นการทิ้งระเบิดทางอากาศที่รอตเทอร์ดามโดยกองทัพอากาศเยอรมัน ลุฟท์วัฟเฟอ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ในช่วงเยอรมันได้บุกเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ในสงครามโลกครั้งที่สอง วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนแก่ทหารเยอรมันที่กำลังสู้รบในเมือง หยุดยั้งการต่อต้านของชาวดัตซ์และบีบบังคับให้ดัตซ์ยอมจำนน แม้ว่าการเจรจาก่อนหน้านี้ได้ส่งผลให้มีการยุติยิง การทิ้งระเบิดได้เกิดขึ้นอย่างไรก็ไม่ทราบ ในสถาพที่ยังคงมีการถกเถียงกันอยู่และการทำลายล้างในใจกลางเมืองเกือบทั้งหมดที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตเกือบ 900 คน และทำให้คนอื่นๆ 85,000 คนกลายเป็นคนไร้บ้าน

ด้วยความสำเร็จทางจิตวิทยาและเชิงกายภาพจากการจู่โจม จากมุมมองของเยอรมัน,ภายใต้การนำโดยกองบัญชาการสูงสุดแห่งกองทัพอากาศลุฟท์วัฟเฟอ(Oberkommando der Luftwaffe-OKL) เพื่อข่มขู่ว่าจะทำลายเมืองยูเทรกต์ หากรัฐบาลดัตซ์ไม่ยอมจำนน ดัตซ์ก็ได้ตัดสินใจยอมจำนนในเช้ารุ่งขึ้น

อ้างอิง

  1. De luchtverdediging mei 1940, by F.J. Molenaar. The Hague, 1970.
  2. Hooton 2007, p. 79.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!