ฟัลคอน 9ยาน ดรากอน ติดตั้งอยู่บนจรวดฟัลคอน 9 v1.1 |
หน้าที่ | พาหนะขนส่งทางอวกาศ |
---|
ผู้ผลิต | สเปซเอ็กซ์ |
---|
ประเทศ | สหรัฐ |
---|
ค่าใช้จ่ายต่อเที่ยวบิน |
- ใหม่: US$62 million (2020),[1]
- ใช้ซ้ำ: US$50 million (2019)[2]
|
---|
ขนาด |
---|
สูง | v1.1: 68.4 เมตร v1.0: 54.9 เมตร |
---|
เส้นผ่าศูนย์กลาง | 3.66 เมตร |
---|
มวล | v1.1 505,846 กิโลกรัม |
---|
จำนวนส่วนจรวด | 2 |
---|
ความจุ |
---|
น้ำหนักบรรทุกสู่ LEO | v1.1: 13 ตัน (13,150 กก.) v1.0: 10 ตัน (10,450 กก.) |
---|
น้ำหนักบรรทุกสู่ GEO | v1.1: 4.8 ตัน (4,850 กก.) v1.0: 4.5 ตัน (4,540 กก.) |
---|
ประวัติการบิน |
---|
สถานะ | v1.1: ปลดประจำการ v1.0: ปลดประจำการ "'v. FT: ปลดประจำการ "'block 5:'" ใช้งานอยู่ |
---|
จำนวนเที่ยวบิน | 16 (v1.1: 11, v1.0: 5) |
---|
สำเร็จ | 15 (v1.1: 11, v1.0: 4) |
---|
ล้มเหลวบางส่วน | 1 (v1.0) |
---|
เที่ยวบินแรก | v1.1: 29 กันยายน 2556
v1.0: 4 มิถุนายน 2553 |
---|
จรวดส่วนแรก |
---|
เครื่องยนต์ | v1.1: 9 x เมอร์ลิน 1ดี v1.0: 9 x เมอร์ลิน 1ซี |
---|
แรงขับ | v1.1: 5,885,000 นิวตัน v1.0: 4,940,000 นิวตัน |
---|
เวลาเผาไหม้ | v1.1: 180 วินาที v1.0: 170 วินาที |
---|
เชื้อเพลิง | LOX/RP-1 |
---|
จรวดส่วนสอง |
---|
เครื่องยนต์ | v1.1: 1 x เมอร์ลิน แวคคุม (1ดี) v1.0: 1 x เมอร์ลิน แวคคุม (1ซี) |
---|
แรงขับ | v1.1: 801,000 นิวตัน v1.0: 445,000 นิวตัน |
---|
เวลาเผาไหม้ | v1.1: 375 วินาที v1.0: 345 วินาที |
---|
เชื้อเพลิง | LOX/RP-1 |
---|
|
ฟัลคอน 9 (อังกฤษ: Falcon 9) เป็นชื่อตระกูลพาหนะขนส่งทางอวกาศที่ออกแบบและสร้างโดยสเปซเอ็กซ์ ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในเมืองฮาวทอร์น, แคลิฟอร์เนีย ตระกูลจรวดนี้ประกอบด้วยฟัลคอน 9 v1.0 และฟัลคอน 9 v1.1 ฟัลคอน 9 1.2 และ ฟัลคอน 9 block 5ทั้งสองส่วนของจรวด ขับดันโดยเครื่องยนต์จรวดที่ใช้ออกซิเจนเหลว และน้ำมันก๊าดแบบ RP-1 เป็นเชื้อเพลิง ฟัลคอน 9 รุ่นปัจจุบัน มีระวางบรรทุก 13,150 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรต่ำของโลก และ 4,850 กิโลกรัมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้า จรวดทั้ง 3 แบบ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับกลางของระบบขนส่งอวกาศ
จรวดฟัลคอน 9 และยานดรากอนชนะข้อเสนอภารกิจขนส่งสัมภาระขึ้น/ลงจากสถานีอวกาศนานาชาติ ในชื่อภารกิจ Commercial Resupply Services (CRS) ภายใต้โครงการ Commercial Orbital Transportation Services (COTS) ของนาซา และได้เริ่มเที่ยวบินแรกของภารกิจดังกล่าวเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555
จรวดฟัลคอนรุ่นแรก (v1.0) ทำการบินได้เพียง 5 เที่ยวบินเท่านั้น ก่อนจะปลดระวางไปเมื่อปี พ.ศ. 2556
โดยสเปซเอ็กซ์ใช้ฟัลคอน 9 v1.1 แทนรุ่นเดิม เริ่มทำการบินทดสอบในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 และจะใช้รูปแบบของรุ่น 1.1 นี้เป็นหลักในการพัฒนาพาหนะขนส่งทางอวกาศ ชื่อ ฟัลคอน เฮฟวี นอกจากนี้จรวดฟัลคอนยังสามารถขนส่งมนุษย์ไปยังสถานีอวกาศนานาชาติในสัญญา Commercial Crew Transportation Capability อีกด้วย และ สเปซเอ็กซ์ใช้ฟอลคอน 9 FT แทน
อ้างอิง
|
---|
|
จรวดขนส่ง | ปัจจุบัน | |
---|
กำลังพัฒนา | |
---|
ปลดประจำการ | |
---|
ยกเลิก | |
---|
| |
---|
จรวดทดสอบ | ปลดประจำการ | |
---|
ยังไม่เคยทำการบิน | |
---|
|
---|
ยานอวกาศ | |
---|
อุปกรณ์ใช้ซ้ำ | |
---|
เครื่องยนต์จรวด | |
---|
ภารกิจ | |
---|
ฐานส่งจรวด | |
---|
ฐานลงจอด | |
---|
สิ่งอำนวย ความสะดวกอื่น ๆ | |
---|
สนับสนุน | |
---|
สัญญา | |
---|
โครงการ วิจัยและพัฒนา | |
---|
บุคคลสำคัญ | |
---|
* หมายถึง จรวดหรือเครื่องยนต์ที่ยังไม่เคยทำการบิน หรือภารกิจ/ฐานส่งในอนาคต † หมายถึง ภารกิจที่ล้มเหลวยาน,พาหนะที่ถูกทำลายและสถานที่ที่ถูกทิ้งร้าง |