พันท์เซอร์ 2

พันท์เซอร์คัมพฟ์วาเกิน 2
PzKpfw II Ausf. C ที่ Musée des Blindés.
ชนิดรถถังเบา
แหล่งกำเนิด ไรช์เยอรมัน
บทบาท
ประจำการ1936–1945
สงครามสงครามโลกครั้งที่ 2
ประวัติการผลิต
ช่วงการออกแบบ1934–1936
ช่วงการผลิต1935 – January 1944
จำนวนที่ผลิต1,856 (excluding conversions)
ข้อมูลจำเพาะ (Ausf. c-C)
มวล8.9 ตัน
ความยาว4.81 m (15 ft 9 in)
ความกว้าง2.22 m (7 ft 3 in)
ความสูง1.99 m (6 ft 6 in)
ลูกเรือ3 (commander/gunner, driver, loader)

เกราะ5–15 mm (0.20–0.59 in)[1]
อาวุธหลัก
1 × 2 cm KwK 30 Ausf. a–F
1 × 2 cm KwK 38 Ausf. J–L
อาวุธรอง
1 × 7.92 mm Maschinengewehr 34
เครื่องยนต์Maybach HL 62TRM 6-cylinder petrol
140 PS (138 hp, 103 kW)
กำลัง/น้ำหนัก15.7 PS (11.6 kW) / tonne
กันสะเทือนLeaf spring
ความสูงจากพื้นรถ0.35 m (1 ft 2 in)[1]
ความจุเชื้อเพลิง170 L (45 US gal)[1]
พิสัยปฏิบัติการ
Road: 190 km (120 mi)[1]
Cross country: 126 km (78 mi)[1]
ความเร็วสูงสุด39.5 km/h (24.5 mph)[1]

พันท์เซอร์ 2 เป็นชื่อสามัญที่ใช้สำหรับตระกูลรถถังเยอรมันที่ถูกใช้งานในสงครามโลกครั้งที่สอง ชื่ออย่างเป็นทางการของภาษาเยอรมันคือ พันท์เซอร์คัมพฟ์วาเกิน 2 (Panzerkampfwagen II, ย่อว่า PzKpfw II).

แม้ว่ายานพาหนะนี้ในช่วงแรกได้รับการออกแบบอย่างเป็นขั้นตอน ในขณะที่รถถังขนาดใหญ่, ขั้นสูงได้ถูกพัฒนาขึ้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีบทบาทสำคัญในช่วงปีแรกของสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงระหว่างการทัพโปแลนด์และฝรั่งเศส พันท์เซอร์ 2 เป็นรถถังที่มีจำนวนมากที่สุดในกองพลพันท์เซอร์ของเยอรมันในช่วงเริ่มต้นของสงคราม มันยังได้ถูกนำไปใช้ในแอฟริกาเหนือที่ต่อสู้ปะทะกับฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกและบนแนวรบด้านตะวันออกที่ต่อสู้ปะทะกับสหภาพโซเวียต

พันท์เซอร์ 2 ได้ถูกแทนที่โดยรถถังพันท์เซอร์ 3 และรถถังขนาดกลาง พันท์เซอร์ 4 โดยในปี ค.ศ. 1940/1941 ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1942 มันได้ถูกปลดประจำการเป็นการใหญ่ออกจากแนวหน้าและได้ถูกใช้สำหรับการฝึกซ้อมและบนแนวรบที่สอง ป้อมปืนของตัวรถถังที่ล้าสมัยอย่างพันท์เซอร์ 1 และ 2 ได้ถูกนำมาใช้อีกครั้งด้วยการเป็นป้อมปืนที่เฉพาะบังเกอร์ป้องกันที่ถูกสร้างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกำแพงแห่งแอตแลนติก การผลิตรถถังรุ่นนี้ได้ถูกยุติลงในเดือนมกราคม ค.ศ. 1944 แต่ฐานตัวรถถังยังคงถูกใช้เป็นฐานของยานพาหนะเกราะได้อีกหลายคัน ส่วนใหญ่เป็นปืนใหญ่อัตตาจร และรถถังพิฆาต เช่น เวสพี และมาร์เดอร์ 2 โดยตามลำดับ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Jentz 1996, p. 278.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!