นูนาวุต

นูนาวุต

ธงของนูนาวุต
ธง
ตราราชการของนูนาวุต
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
ᓄᓇᕗᑦ ᓴᙱᓂᕗᑦ (Nunavut Sannginivut)
"Our land, our strength"
"Notre terre, notre force"
พิกัด: 70°10′00″N 90°44′00″W / 70.16667°N 90.73333°W / 70.16667; -90.73333
ประเทศแคนาดา
เข้าร่วมสมาพันธ์1 เมษายน 1999; 25 ปีก่อน (1999-04-01) (ลำดับที่ 13)
เมืองหลวงอีคาลูอิต
เมืองใหญ่สุดอีคาลูอิต
การปกครอง
 • CommissionerEva Aariak
 • นายกเทศมนตรีJoe Savikataaq (consensus government)
LegislatureLegislative Assembly of Nunavut
Federal representationParliament of Canada
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร1 จาก 338 (0.3%)
สมาชิกวุฒิสภา1 จาก 105 (1%)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด2,038,722 ตร.กม. (787,155 ตร.ไมล์)
 • พื้นดิน1,877,787 ตร.กม. (725,018 ตร.ไมล์)
 • พื้นน้ำ160,935 ตร.กม. (62,137 ตร.ไมล์)  7.9%
อันดับพื้นที่อันดับที่ 1
 ร้อยละ 20.4 ของแคนาดา
ประชากร
 (2016)
 • ทั้งหมด35,944 [1] คน
 • ประมาณ 
(2021 Q1)
39,407 [2] คน
 • อันดับอันดับที่ 12
 • ความหนาแน่น0.02 คน/ตร.กม. (0.05 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมนูนาวุมมิอุต (Nunavummiut)
นูนาวุมมิอุก (Nunavummiuq) (เอกพจน์)[3]
ภาษาราชการอินุกตุด
(ภาษาอินุอิต: อินุอินนักตัน, อินุกติตุต)[4]
อังกฤษ, ฝรั่งเศส
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
 • อันดับ12
 • ทั้งหมด (2017)C$2.846 พันล้าน[5]
 • ต่อหัวC$58,452 (อันดับที่ 6)
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
 • HDI (2018)0.908[6]สูงมาก (อันดับที่ 5)
เขตเวลาUTC-07:00 (เวลาภูเขา)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC-06:00
UTC-06:00 (เวลากลาง)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC-05:00
รหัสไปรษณีย์NU
คำนำหน้ารหัสไปรษณีย์X0A, X0B, X0C
รหัส ISO 3166CA-NU
ดอกไม้Purple Saxifrage[7]
ต้นไม้n/a
นกRock Ptarmigan[8]
* อันดับนับรวมทั้งรัฐและดินแดน

นูนาวุต (อังกฤษ: Nunavut) เป็นดินแดนที่ใหญ่ที่สุดและใหม่ที่สุดของสหพันธรัฐของแคนาดา แยกออกมาอย่างเป็นทางการจากนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ เมื่อวันที่ 1 เมษายนน ค.ศ. 1999 ผ่านกฎหมายนูนาวุต[9] และกฎหมายยินยอมอ้างสิทธิ์ดินแดนนูนาวุต (Nunavut Land Claims Agreement Act)[10] กับพื้นที่จริงที่เกิดขึ้นในปี 1993

นูนาวุตประกอบด้วยพื้นที่ใหญ่ 2 ส่วนของแคนาดาเหนือ ส่วนมากอยู่ในพื้นที่หมู่เกาะอาร์กติก นูนาวุตยังเป็นรัฐหรือดินแดนของแคนาดาที่ใหญ่ที่สุด แต่มีประชากรน้อยที่สุด มีราว 29,474 คน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Population and Dwelling Count Highlight Tables, 2016 Census". Statistics Canada. February 8, 2017. สืบค้นเมื่อ 2017-02-08.
  2. "Population by year of Canada of Canada and territories". Statistics Canada. September 26, 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-19. สืบค้นเมื่อ September 29, 2018.
  3. Nunavummiut, the plural demonym for residents of Nunavut, appears throughout the Government of Nunavut website เก็บถาวร มกราคม 18, 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, proceedings of the Nunavut legislature, and elsewhere. Nunavut Housing Corporation เก็บถาวร 2022-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Discussion Paper Released to Engage Nunavummiut on Development of Suicide Prevention Strategy. Alan Rayburn, previous head of the Canadian Permanent Committee of Geographical Names, opined that: "Nunavut is still too young to have acquired [a gentilé], although Nunavutan may be an obvious choice." In Naming Canada: stories about Canadian place names 2001. (2nd ed. ed.). Toronto: University of Toronto Press. (ISBN 0-8020-8293-9); p. 50.
  4. "Consolidation of (S.Nu. 2008, c.10) (NIF) Official Languages Act" (PDF). and "Consolidation of Inuit Language Protection Act" (PDF). Government of Nunavut. สืบค้นเมื่อ August 5, 2021.
  5. "Gross domestic product, expenditure-based, provincial and territorial, annual (x 1,000,000)". Statistics Canada. 2019-09-21.
  6. "Sub-national HDI - Subnational HDI - Global Data Lab". globaldatalab.org. สืบค้นเมื่อ 2020-06-18.
  7. "The Official Flower of Nunavut: Purple Saxifrage". Legislative Assembly of Nunavut. 2011. สืบค้นเมื่อ July 31, 2011.
  8. "The Official Bird of Nunavut: The Rock Ptarmigan". Legislative Assembly of Nunavut. 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-08. สืบค้นเมื่อ July 31, 2011.
  9. Justice Canada (1993). "Nunavut Act". สืบค้นเมื่อ 2007-04-26.[ลิงก์เสีย]
  10. Justice Canada (1993). "Nunavut Land Claims Agreement Act". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-05. สืบค้นเมื่อ 2007-04-26.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!