ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง

北京首都国际机场
ภาพถ่ายทางอากาศของท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของ-ผู้ดำเนินงานBeijing Capital International Airport Company Limited
พื้นที่บริการจิง-จิน-จี้
ที่ตั้งชุ่นอี้ ปักกิ่ง ประเทศจีน
เปิดใช้งาน1 มีนาคม 1958; 66 ปีก่อน (1958-03-01)
ฐานการบิน
เมืองสำคัญ
เหนือระดับน้ำทะเล116 ฟุต / 35 เมตร
พิกัด40°04′21″N 116°35′51″E / 40.07250°N 116.59750°E / 40.07250; 116.59750
เว็บไซต์www.bcia.com.cn
en.bcia.com.cn
แผนที่
PEK/ZBAAตั้งอยู่ในปักกิ่ง
PEK/ZBAA
PEK/ZBAA
ที่ตั้งในปักกิ่ง
PEK/ZBAAตั้งอยู่ในประเทศจีน
PEK/ZBAA
PEK/ZBAA
ที่ตั้งในประเทศจีน
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
18L/36R 3,810 ยางมะตอย
18R/36L 3,445 ยางมะตอย
01/19 3,810 คอนกรีต[1]
สถิติ (2023)
ผู้โดยสาร52,879,156
การเคลื่อนตัวของอากาศยาน379,710
ตันสินค้า1,115,908
ผลทางเศรษฐกิตและสังคม6.5 พันล้านและ 571,700 ดอลลาร์สหรัฐ[2]
ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง
อักษรจีนตัวย่อ北京首都国际机场
อักษรจีนตัวเต็ม北京首都國際機場
อาคารเทียบเครื่องบิน 3
ภายในอาคารผู้โดยสาร 3 หลังใหม่

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง (IATA: PEKICAO: ZBAA) เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ 32 km (20 mi) ในเขตเฉาหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้[5] บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking)[a]

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ใช้สนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี พ.ศ. 2551 ในช่วงงานโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ถือเป็นอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 รองจากอาคารผู้โดยสารที่ 3 ของ ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ และถือเป็นสิ่งปลูกสร้างที่ใช้พื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับ 6 ซึ่งกินเนื้อที่ราว 1,480 เฮกตาร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง เติบโตอย่างรวดเร็วโดยติดอันดับสนามบินที่คับคั่งที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และกลายมาเป็นสนามบินที่คับคั่งที่สุดในเอเซียจากจำนวนผู้โดยสารและจำนวนเที่ยวบินในปี พ.ศ. 2542 และได้ถือเป็นสนามบินที่มีผู้โดยสารคับคั่งที่สุดอันดับ 2 ของโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง ได้บันทึกว่ามีเครื่องบินเข้าออกทั้งหมด 557,167 ครั้ง (นับจากเครื่องบินขึ้นและลง) ติดอันดับ 6 ของโลกในปี พ.ศ. 2555[3] ด้านเที่ยวบินขนส่งสินค้าก็เช่นกัน ในปี พ.ศ. 2555 สนามบินถูกจัดอันดับที่ 13 ของสนามบินที่มีเที่ยวบินขนส่งสินค้าที่คับครั้งที่สุดในโลก โดยมีการขนส่งสินค้ากว่า 1,787,027 ตัน[3]

ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 เที่ยวบินของสมาชิกวันเวิลด์ และสกายทีม ทั้งหมดจะถูกถ่ายโอนจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งไปยังท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งต้าซิงแห่งใหม่ ยกเว้นคาเธ่ย์แปซิฟิก และ คาเธ่ย์ดรากอน

ประวัติ

ท่าอากาศยานปักกิ่งในปี พ.ศ. 2502
แอร์ฟอร์ซวัน ของประธานาธิปดีริชาร์ด นิกสัน ลงจอดที่ท่าอากาศยานปักกิ่งในปี พ.ศ. 2515

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2501 ขณะนั้นสนามบินมีเพียงอาคารขนาดเล็กที่ยังคงอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งใช้รองรับผู้โดยสารวีไอพี และ เที่ยวบินเช่าเหมาลำ วันที่ 1 มกราคม 2523 ได้เปิดให้บริการอาคารผู้โดยสารแห่งที่ 1 โดยมีท่าเทียบ และรองรับเครื่องบินได้ 10-12 ลำ อาคารใหม่นี้ ใหญ่กว่าอาคารเก่าที่สร้างในช่วงปี พ.ศ. 2500 มาก

เที่ยวบินแรกที่บินมาสู่จีน และ ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่งคือเที่ยวบินของปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จากเมืองอิสลามาบาด

ช่วงปลายปี พ.ศ. 2542 เป็นช่วงครบรอบ 50 ปี ของการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่งได้ขยายอาคารผู้โดยสารแห่งที่ 2 เปิดให้บริการในวันที่ 1 พศจิกายนในปีเดียวกัน โดยอาคารผู้โดยสารแห่งที่ 1 ถูกปิดช่วงคราวเพื่อปรับปรุงหลังจากเปิดอาคาร 2 วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2547 อาคารผู้โดยสารแห่งที่ 1 จึงกลับมาเปิดอีกครั้ง หลังปรับปรุงเสร็จแล้ว ซึ่งในตอนนั้นเปิดให้ใช้เฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศของสายการบินไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เท่านั้น[6] ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศและต่างประเทศของสายการบินอื่นๆ ยังคงให้บริการจากอาคารผู้โดยสารแห่งที่ 2

ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่งได้ขยายสนามบินอีกครั้งในปี พ.ศ. 2550 โดยเปิดให้บริการทางวิ่งที่ 3 ในวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เพื่อลดปัญหาความคับคั่งของอีกสองทางวิ่ง[7] อาคารผู้โดยสารแห่งที่ 3 (T3) สร้างเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 ในช่วงโอลิมปิกปักกิ่ง การขยายสนามบินครั้งนี้ยังได้เพิ่มทางรถไฟวิ่งเข้าไปสู่กลางกรุงปักกิ่งด้วย ในขณะที่เปิดใช้บริการนั้น อาคารผู้โดยสารแห่งที่ 3 ได้รับการยกย่องให้เป็นสิ่งปลูกสร้างที่ใช้พื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลก และถือเป็นสถานที่สำคัญที่บ่งบอกการเจริญเติบโตของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน การขยายครั้งนี้ได้ระดมทุนกว่า 3 หมื่นล้านเยนจากประเทศญี่ปุ่น และอีก 5 ร้อยล้านยูโรจาก ธนาคารเพื่อการลงทุนของยุโรป (EIB) การกู้ครั้งนี้ถือเป็นการกู้ครั้งใหญ่ที่สุดในเอเซ๊ยของ EIB ซึ่งได้ลงนามความตกลงกันในงาน การประชุมผู้นำจีนและกลุ่มประเทศยุโรปครั้งที่ 8 เมื่อเดือนกันยายน 2558[8]

หลังจากงานโอลิมปิกฤดูร้อน 2008และเพิ่มอาคารผู้โดยสารแห่งใหม่แล้ว ท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่งได้ยึดตำแหน่งสนามบินที่คับคั่งที่สุดในเอเชียนับจากจำนวนที่นั่ง จากท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว[9]

และเนื่องด้วยปัญหาด้านการขยายด้วยของท่าอากาศยานนานาชาติกรุงปักกิ่ง จึงได้มีแผนที่จะเปิดสนามบินใหม่ที่ต้าซิง ซึ่งผ่านการอนุมัติแล้วในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2556 และเริ่มการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2558 และแล้วเสร็จในปี 2562[10] สนามบินแห่งใหม่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์รวมของสายการบินพันธมิตร สกายทีม (ยกเว้นสายการบิน ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์)[11] ส่วนสมาชิกของ สตาร์อัลไลแอนซ์ จะยังคงอยู่ที่สนามบินนานาชาติปักกิ่ง ไห่หนานแอร์ไลน์ซึ่งมีปริมาณผู้โดยสารคิดเป็น 10% ของผู้ใช้บริการสนามบินปักกิ่ง ในปี พ.ศ. 2559 แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของพันธมิตรหลักใด ๆ จะอยู่ที่สนามบินเดิม[12]

อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน

อาคารผู้โดยสาร 1

อาคารผู้โดยสาร 2

อาคารผู้โดยสาร 3

เปิดให้บริการเมื่อปี พ.ศ. 2551

สายการบินขนส่งสินค้า

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. รหัส BJS ใช้สำหรับสนามบินเชิงพาณิชย์ทุกแห่งในเขตมหานครปักกิ่ง ปัจจุบันรวมถึงสนามบินแห่งนี้และ ปักกิ่งหนานหยวน สนามบินขนาดเล็กสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ

อ้างอิง

  1. "Boeing: Airport Compatibility - Airport Planning and Engineering Services". www.boeing.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013.
  2. "Beijing Capital International airport – Economic and social impact". Ecquants. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2014. สืบค้นเมื่อ 7 September 2013.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Preliminary world airport traffic rankings". 13 March 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2020. สืบค้นเมื่อ 9 April 2019.
  4. 2018年民航机场生产统计公报 (ภาษาจีน). Civil Aviation Administration of China. 5 March 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2020. สืบค้นเมื่อ 12 March 2019.
  5. Map from Maptown.cn เก็บถาวร 2013-01-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ()
  6. "首都国际机场的历史沿革_新浪旅游_新浪网". travel.sina.com.cn. สืบค้นเมื่อ 2015-07-15.
  7. "Beijing Airport's third runway opens on Monday". Chinadaily.com.cn. Xinhua. 29 October 2007. สืบค้นเมื่อ 1 June 2015.
  8. "europa-eu-un.org". สืบค้นเมื่อ 1 June 2015.
  9. "AAPA members' international traffic falls in July; Beijing now busiest airport in the region". anna.aero. 5 September 2008.
  10. WANG XIAODONG (14 January 2013). "New capital airport cleared for takeoff". China Daily.
  11. "CAAC permits China Eastern ops at Beijing Capital".
  12. "Beijing's New Daxing Airport Stokes Rivalries and Confusion" (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

Read other articles:

2021 single by Sam Fender Seventeen Going UnderSingle by Sam Fenderfrom the album Seventeen Going Under Released7 July 2021 (2021-07-07)RecordedNorth ShieldsGenreIndie rock[1]heartland rockLength 5:02 (original) 4:57 (explicit) 3:57 (radio edit) LabelPolydorSongwriter(s)Sam FenderProducer(s)Bramwell BronteSam Fender singles chronology Winter Song (2020) Seventeen Going Under (2021) Get You Down (2021) Music videoSeventeen Going Under on YouTube Seventeen Going Under is ...

 

KeroCosplayer interpretando al personaje (Derecha)けろ(Kero)SexoMasculino.Primera apariciónCapítulo 1 del manga.Episodio 1 del anime. Cardcaptor Sakura Tsubasa: RESERVoir CHRoNiCLE Cardcaptor Sakura: Clear Card-Hen [editar datos en Wikidata] Kerberos (ケロベルス, Kerberos?), más conocido como Kero (けろ, Kero?), es un personaje ficticio del manga y anime Cardcaptor Sakura, creado por las CLAMP. Kero también aparece en el anime Tsubasa RESERVoir CHRoNiCLE, otra de las ob...

 

Nue

Untuk pengertian lain, lihat NUE. Kuniyoshi Utagawa, Taiba (Akhir), 1852. Cetakan yang menggambarkan nue turun di atas Istana Kerajaan dengan awan hitam. Nue (鵺code: ja is deprecated ) adalah makhluk mitologis dalam cerita rakyat Jepang. Ia dideskripsikan sebagai makhluk berkepala monyet, bertubuh tanuki (anjing rakun), berkaki macan, dan berekor ular. Menurut legenda, seekor nue dapat berubah bentuk menjadi awan hitam lalu terbang. Karena penampilannya, kadang kala ia disebut sebagai khime...

Text, melody and figured bass of the hymn, Georg Neumark 1657 Organ recording of the hymn Wer nur den lieben Gott läßt walten (He who allows dear God to rule him) is a 1641 hymn by Georg Neumark, who also composed the melody for it. It has seven verses and deals with the Christian putting their trust in God. Its author referred to it as a Trostlied or song of consolation and it first appeared in his Fortgepflantzer musikalisch-poetischer Lustwald (published in Jena in 1657). It also appeare...

 

Prisión de Tura سجن طرة Vista de la prisiónLocalizaciónPaís EgiptoUbicación Tura  EgiptoCoordenadas 29°56′36″N 31°16′20″E / 29.94334, 31.27234Información generalFinalización 1908Construcción 1908Inauguración 1908[editar datos en Wikidata] La prisión de Tura[1]​ (en árabe: سجن طرة) es un complejo penitenciario en Egipto para detenidos comunes y políticos, que se encuentra en frente de la estación de metro de Tura El-Balad ...

 

Phantom QueenPoster teatrikal untuk Phantom Queen (1967)Nama lainHangul다정불심 Hanja多情佛心 Alih Aksara yang DisempurnakanDajeong bulsimMcCune–ReischauerTajŏngbulsim SutradaraShin Sang-ok[1]Produser Shin Sang-ok Ditulis oleh Choi Keum-dong PemeranChoi Eun-heePenata musikKim Hee-joSinematograferKim Jong-raePenyuntingO Seong-hwanDistributorShin Films Co., Ltd.Tanggal rilis 28 April 1967 (1967-04-28) Negara Korea Selatan Bahasa Korea Phantom Queen (다정불...

The RankstersPoster promosiHangul뭐든지 프렌즈 GenreRagamNegara asalKorea SelatanBahasa asliKoreaJmlh. musim1Jmlh. episode8ProduksiLokasi produksiKorea SelatanDurasi80 menitDistributortvNRilisJaringan aslitvNFormat gambarHDTV 1080iRilis asli17 Juli (2019-07-17) –4 September 2019 (2019-09-4)Pranala luarSitus web The Ranksters (Hangul: 뭐든지 프렌즈) adalah program acara ragam Korea Selatan di tvN. Program ini mengudara di tvN setiap Rabu pukul 23:00 (WSK) ...

 

Jorge Rafael VidelaPresiden ArgentinaDe factoMasa jabatan29 Maret 1976 – 29 Maret 1981PendahuluIsabel PerónPenggantiRoberto Viola Informasi pribadiLahirJorge Rafael Videla(1925-08-02)2 Agustus 1925Mercedes, Provinsi Buenos Aires, ArgentinaMeninggal17 Mei 2013(2013-05-17) (umur 87)Marcos Paz, Provinsi Buenos Aires, ArgentinaKebangsaanArgentinaSuami/istriAlicia Raquel HartridgeAnak7Alma materColegio Militar de la NaciónProfesiMiliterTanda tanganKarier militerPihakArgentinaDina...

 

Weierbach Stadt Idar-Oberstein Wappen der ehemaligen Gemeinde Weierbach Koordinaten: 49° 44′ N, 7° 24′ O49.7278877.393275225Koordinaten: 49° 43′ 40″ N, 7° 23′ 36″ O Höhe: 225 m ü. NHN Einwohner: 2381 (31. Dez. 2015)[1] Eingemeindung: 7. November 1970 Postleitzahl: 55743 Vorwahl: 06784 Weierbach (Rheinland-Pfalz) Lage von Weierbach in Rheinland-Pfalz Einkaufszentrum im Stadtteil Weierbach,...

Early 17th century Ming Dynasty official In this Chinese name, the family name is Zuo. Zuo GuangdouDuke of Zhongyi左光斗Left Minister of the CensorateIn office1624-1625MonarchTianqi EmperorLeft Minister of the Court of Judicature and RevisionIn office1623-1624MonarchTianqi EmperorCensor of the CensorateIn office1607-1623MonarchsTaichang Emperor and Tianqi Emperor Personal detailsBorn(1575-10-12)12 October 1575Died26 August 1625(1625-08-26) (aged 49) Zuo GuangdouChinese左光斗Transcr...

 

سيف الدين يلبغا اليحياوي معلومات شخصية الوفاة سنة 1347  قاقون  سبب الوفاة قطع الرأس  مواطنة الدولة المملوكية  إخوة وأخوات سيف الدين أسندمر اليحياوي  الحياة العملية المهنة حاكم  [لغات أخرى]‏  تعديل مصدري - تعديل   سَيْفِ الدِّينِ يَلْبُغَا الْيَحْيَا...

 

Administrative region of the Philippines For the municipality in the province of Davao Oriental, see Caraga, Davao Oriental. Region in Mindanao, PhilippinesCaraga Caraga Administrative RegionRegion XIIIRegion From top, left to right: A naked beach in Siargao Island; Tinuy-an Falls; Rice Corn and Flower Festival in Bayugan; Macapagal Bridge in Butuan; A lagoon in Libjo; Hinatuan Enchanted RiverLocation in the PhilippinesOpenStreetMapCoordinates: 8°55′N 125°30′E / 8.92°N ...

此條目或章節中的譯名僅包含特定地區的用法。請幫助編輯本文,加入各地慣用的翻譯名稱,請參見維基百科繁簡處理說明和Wikipedia:繁简处理。(幫助、討論) 石油化學(英語:Petrochemistry)是研究石油及其產品的組成和性質、石化過程的一門學科。[1] 美國一所石化廠 其中最常見的兩大類產物分別為:烯烴和芳香烴。煉油廠藉由流化催化裂化提煉生產烯烴和芳香烴。...

 

2017 studio album by Paul Heaton and Jacqui AbbottCrooked CalypsoStudio album by Paul Heaton and Jacqui AbbottReleased21 July 2017 (2017-07-21)StudioThe Chairworks, Castleford[1]GenreAlternativeindie rockLength46:30 (standard edition) 71:52 (deluxe edition)LabelVirgin EMIProducerJohn Owen WilliamsPaul Heaton chronology Wisdom, Laughter and Lines(2015) Crooked Calypso(2017) The Last King of Pop(2018) Jacqui Abbott chronology Wisdom, Laughter and Lines(2015) Crook...

 

King of the Franks from 743 to 751; last king of the Merovingian Dynasty Childeric IIIKing of the FranksReign743–751PredecessorTheuderic IVSuccessorPepin the ShortBornc. 717Diedc. 754IssueTheudericDynastyMerovingianFatherChilperic II or Theuderic IV[1] Childeric III (c. 717 – c. 754) was King of the Franks from 743 until he was deposed in 751 by Pepin the Short. He was the last Frankish king from the Merovingian dynasty. Once Childeric was deposed, Pepin became king, initiating th...

يفتقر محتوى هذه المقالة إلى الاستشهاد بمصادر. فضلاً، ساهم في تطوير هذه المقالة من خلال إضافة مصادر موثوق بها. أي معلومات غير موثقة يمكن التشكيك بها وإزالتها. (مارس 2016) هذه المقالة يتيمة إذ تصل إليها مقالات أخرى قليلة جدًا. فضلًا، ساعد بإضافة وصلة إليها في مقالات متعلقة بها. (...

 

Pagibang Damara is a festival in San Jose City, Nueva Ecija wherein its people celebrates to give thanks for a good harvest in line with their celebration of the City Fiesta on the second or third week of April every year.[1] History Damara A damara is a Tagalog word for a shelter or a shed made of bamboo and nipa that was built on ricefields as a protection for farmers from the sun or rain during planting and harvesting seasons.[2] Farmers and landlords particularly in the ci...

 

Filmmaking in Madagascar Part of a series on theCulture of Madagascar Society Malagasy people History Languages Holidays Religion Topics Architecture Cinema Cuisine Literature Media Music Sports Symbols Flag Coat of arms Anthem Miss Madagascar World Heritage Sites  Madagascar portalvte Former cinemas in Antananarivo The cinema of Madagascar refers to the film industry in Madagascar. The most notable director is Raymond Rajaonarivelo, director of movies such as Quand Les Etoiles Renco...

1989 single by Depeche Mode This article is about the song by Depeche Mode. For the album by Nina Hagen, see Personal Jesus (album). For the Grey's Anatomy episode, see Personal Jesus (Grey's Anatomy). Personal JesusSingle by Depeche Modefrom the album Violator B-sideDangerousReleased29 August 1989 (1989-08-29)[1]StudioPuk (Gjerlev, Denmark) and Logic (Milan)[2]Genre Synth-rock[3] blues rock[4] alternative rock[5] dance-rock[6] Le...

 

هذه المقالة يتيمة إذ تصل إليها مقالات أخرى قليلة جدًا. فضلًا، ساعد بإضافة وصلة إليها في مقالات متعلقة بها. (أكتوبر 2019) هيرمان بيتر دي بوير   معلومات شخصية الميلاد 9 فبراير 1928[1]  روتردام  الوفاة 1 يناير 2014 (85 سنة)   آيندهوفن  سبب الوفاة مرض  مواطنة مملكة هولندا...

 

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!