ทะเลสาบดัล

ทะเลสาบดัล
เรือบนทะเลสาบดัลและเกาะจาร์จินาร์
ทะเลสาบดัลตั้งอยู่ในชัมมูและกัศมีร์
ทะเลสาบดัล
ทะเลสาบดัล
ที่ตั้งศรีนคร, ชัมมูและกัศมีร์, India
พิกัด34°07′N 74°52′E / 34.117°N 74.867°E / 34.117; 74.867
ชนิดของทะเลสาบมอนอมิกทิก
แหล่งน้ำไหลเข้าหลักInflow Channel Telbal Nallah จาก Marsar lake −291.9 ล้านลูกบาศก์เมตร
แหล่งน้ำไหลออกRegulated, สองทาง (Dal Gate and Nalla Amir) – 275.6 ล้านลูกบาศก์เมตร
พื้นที่รับน้ำ316 ตารางกิโลเมตร (122 ตารางไมล์)
ประเทศในลุ่มน้ำอินเดีย ประเทศอินเดีย
ช่วงยาวที่สุด7.44 km (4.62 mi)
ช่วงกว้างที่สุด3.5 km (2.2 mi)
พื้นที่พื้นน้ำ18–22 ตารางกิโลเมตร (6.9–8.5 ตารางไมล์)
ความลึกโดยเฉลี่ย1.42 เมตร (4.7 ฟุต)
ความลึกสูงสุด6 m (20 ft)
ปริมาณน้ำ983 ล้าน ลูกบาศก์เมตร (34.7 พันล้าน ลูกบาศก์ฟุต)
เวลาพักน้ำ22.16 วัน
ความยาวชายฝั่ง115.5 km (9.6 mi)
ความสูงของพื้นที่1,583 m (5,194 ft)
แข็งตัวในฤดูหนาวที่รุนแรง
เกาะ2 (โสนาลังก์ และ รูปลังก์))
เมืองฮัซรัตบัล, ศรีนคร
1 ความยาวแนวชายฝั่งไม่ได้ถูกวัดอย่างละเอียด

ดัล หรือ ดาล เป็นทะเลสาบในศรีนคร เมืองหลวงฤดูร้อนของชัมมูและกัศมีร์ ประเทศอินเดีย เป็นทะเลสาบสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจสำคัญของชัมมูและกัศมีร์ และได้รับการเรียกขานเป็น "ทะเลสาบดอกไม้",[1] "เพชรยอดมงกุฎของกัศมีร์"[2] หรือ "มณีแห่งศรีนคร"[3] นอกจากนี้ยังมีส่วนสำคัญในเชิงพาณิชย์ในฐานะแหล่งจับปลาและแหล่งชลประทานสำหรับการเกษตร[4][5][6]

พื้นที่ขอบรอบทะเลสาบความยาว 15.5 กิโลเมตร (9.6 ไมล์) ประกอบด้วยต้นไม้และสวนจากจักรวรรดิโมกุล, เรือบ้าน ตลอดจนโรงแรมต่าง ๆ จุดชมทะเลสาบที่สวยงามคือจากชาลิมาร์บาฆ และ นิศาตบาฆ ซึ่งสร้างจักรพรรดิชะฮันคีร์แห่งจักรวรรดิโมกุล[7] และเรือบ้านที่เปิดเป็นภัตตาคารประดับด้วยศิขรสีสันสดใส[8] ในฤดูหนาว หากอุณหภูมิลดต่ำลงถึง −11 องศาเซลเซียส (12 องศาฟาเรนไฮต์) จะทำให้ทะเลสาบแข็งเป็นน้ำแข็ง[6][9]

References

  1. World, Beautiful (2017-07-19). "Dal Lake Facts & Information - Beautiful World Travel Guide". Facts & Information - Beautiful World Travel Guide (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2019-05-17.
  2. "Dal Lake". National Informatics Centre. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2009. สืบค้นเมื่อ 3 April 2010. The world famous water body has been described as Lake Par-Excellence by Sir Walter Lawrence. It is the Jewel in the crown of the Kashmir and is eulogised by poets and praised abundantly by the tourists.
  3. Singh, Sarina (2005). India. Lonely Planet. p. 344. ISBN 978-1-74059-694-7. สืบค้นเมื่อ 3 April 2010. peaceful Dal Lake is Srinagar's Jewel
  4. Pandit pp. 66–93
  5. "Dal Lake". International Lake Environment Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2009.
  6. 6.0 6.1 Jain, Sharad K; Pushpendra K. Agarwal; Vijay P. Singh (2007). Hydrology and water resources of India. Dal Lake. Springer. p. 978. ISBN 978-1-4020-5179-1. สืบค้นเมื่อ 27 December 2009.
  7. "DAL LAKE". Tourist Attractions in India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2013. สืบค้นเมื่อ 3 September 2013.
  8. the Alternate Hydro Energy centre of the University of Rookee. "Conservation and Management Plan for Dal- Nigeen Lake". House Boat Owners Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 มีนาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2009.
  9. "Dal Lakes". Kashmir Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2012. สืบค้นเมื่อ 18 December 2009.

บรรณานุกรม

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!