นครญิงจี (ทิเบต: ཉིང་ཁྲི་གྲོང་ཁྱེར།, ไวลี: nying khri grong khyer, พินอินทิเบต: Nyingchi Chongkyêr) หรือ หลินจือ (林芝市) เป็นนครระดับจังหวัดแห่งหนึ่งตั้งตอนตะวันออกเฉียงใต้ของเขตปกครองตนเองทิเบตในสาธารณรัฐประชาชนจีน
ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้จรดลาซาและชานหนาน ทางตะวันออกและทิศเหนือจรดชัมโตและนักชู ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับจังหวัดปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง และจังหวัดปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง ในมณฑลยูนนาน และทางใต้ติดกับประเทศอินเดียและพม่า
ทางใต้มีข้อพิพาทเรื่องดินแดนกับอินเดีย โดยทางจีนถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ทิเบต
ประวัติศาสตร์
"ญิงจี" (ཉིང་ཁྲི་) ในภาษาทิเบตหมายถึง "บัลลังก์แห่งดวงอาทิตย์" เมืองญิงจีตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเขตปกครองตนเองทิเบต ในตอนกลางและตอนล่างของแม่น้ำพรหมบุตร ระหว่างละติจูด 26°52'-30°40' เหนือ และลองจิจูด 92°09'-98°47' ตะวันออก
พื้นที่มีความกว้าง 646.7 กิโลเมตรในแนวตะวันออกและตะวันตก กว้าง 353.2 กิโลเมตรในแนวเหนือใต้ มีเส้นแบ่งเขตยาว 1006.5 กิโลเมตร และมีพื้นที่รวม 117,000 ตารางกิโลเมตร แต่อยู่ในการควบคุมจริง ๆ แค่ 76,000 ตารางกิโลเมตร
ที่ทำการตั้งอยู่ในเขตปาอี๋ (巴宜) ซึ่งอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3,000 เมตร และอยู่ห่างจากลาซา ซึ่งเป็นเมืองหลวงของเขตปกครองนี้ไปมากกว่า 400 กิโลเมตร
ภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินจัดให้เมืองนี้อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบแห้งแล้งในฤดูหนาวอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร (Cwb)[1]
แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ |
จังหวัดญิงจี
(วิธีอ่าน) |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร | ที่มา: [2] |
|
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์ |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว |
|
ข้อมูลภูมิอากาศของญิงจี (ปกติ ค.ศ. 1981–2010)
|
เดือน
|
ม.ค.
|
ก.พ.
|
มี.ค.
|
เม.ย.
|
พ.ค.
|
มิ.ย.
|
ก.ค.
|
ส.ค.
|
ก.ย.
|
ต.ค.
|
พ.ย.
|
ธ.ค.
|
ทั้งปี
|
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
|
19.4 (66.9)
|
20.2 (68.4)
|
24.0 (75.2)
|
25.3 (77.5)
|
28.0 (82.4)
|
29.0 (84.2)
|
31.4 (88.5)
|
29.6 (85.3)
|
30.2 (86.4)
|
24.5 (76.1)
|
19.9 (67.8)
|
16.7 (62.1)
|
31.4 (88.5)
|
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)
|
8.9 (48)
|
10.2 (50.4)
|
13.5 (56.3)
|
16.6 (61.9)
|
19.5 (67.1)
|
21.6 (70.9)
|
22.3 (72.1)
|
22.1 (71.8)
|
20.5 (68.9)
|
17.4 (63.3)
|
13.7 (56.7)
|
10.1 (50.2)
|
16.37 (61.46)
|
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F)
|
1.0 (33.8)
|
2.8 (37)
|
5.9 (42.6)
|
8.9 (48)
|
12.1 (53.8)
|
15.1 (59.2)
|
16.2 (61.2)
|
15.7 (60.3)
|
13.9 (57)
|
10.3 (50.5)
|
5.5 (41.9)
|
1.7 (35.1)
|
9.09 (48.37)
|
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)
|
−4.7 (23.5)
|
−2.3 (27.9)
|
1.0 (33.8)
|
3.8 (38.8)
|
7.0 (44.6)
|
10.8 (51.4)
|
12.0 (53.6)
|
11.6 (52.9)
|
9.9 (49.8)
|
5.6 (42.1)
|
−0.3 (31.5)
|
−4.2 (24.4)
|
4.18 (39.53)
|
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)
|
−15.3 (4.5)
|
-13.3 (8.1)
|
-10.1 (13.8)
|
−4.6 (23.7)
|
-1.6 (29.1)
|
3.0 (37.4)
|
3.9 (39)
|
2.9 (37.2)
|
-1.0 (30.2)
|
-5.0 (23)
|
−10.4 (13.3)
|
−15.3 (4.5)
|
−15.3 (4.5)
|
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว)
|
1.3 (0.051)
|
4.4 (0.173)
|
19.0 (0.748)
|
46.2 (1.819)
|
75.3 (2.965)
|
119.2 (4.693)
|
143.3 (5.642)
|
122.2 (4.811)
|
110.5 (4.35)
|
45.4 (1.787)
|
4.7 (0.185)
|
1.0 (0.039)
|
692.5 (27.264)
|
ความชื้นร้อยละ
|
49
|
53
|
58
|
63
|
65
|
72
|
76
|
76
|
76
|
66
|
56
|
50
|
63.3
|
แหล่งที่มา 1: China Meteorological Administration[2]
|
แหล่งที่มา 2: Climate Source Database
|
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น