จังหวัดอีฟูเกา

จังหวัดอีฟูเกา
จังหวัด
นาขั้นบันไดฟิลิปปินคอร์ดิลเยรา หนึ่งในแหล่งมรดกโลก
ธงของจังหวัดอีฟูเกา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของจังหวัดอีฟูเกา
ตรา
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ที่ตั้งในประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศ ฟิลิปปินส์
เขตเขตบริหารคอร์ดิลเยรา
ก่อตั้ง18 มิถุนายน ค.ศ. 1966
เมืองหลักลากาเว
การปกครอง
 • ประเภทสภาจังหวัด
 • ผู้ว่าราชการจังหวัดPedro Mayam-o (PDP–Laban)
 • รองผู้ว่าราชการจังหวัดJordan Gullitiw (LP)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด2,628.21 ตร.กม. (1,014.76 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่50 จาก 81
ความสูงจุดสูงสุด (ภูเขาปูลัก)2,926 เมตร (9,600 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2015)[2]
 • ทั้งหมด202,802 คน
 • อันดับ72 จาก 81
 • ความหนาแน่น77 คน/ตร.กม. (200 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับความหนาแน่น74 จาก 81
เขตการปกครอง
 • นครอิสระ0
 • นคร0
 • เทศบาล11
 • บารังไกย์175
 • DistrictsLone district of Ifugao
เขตเวลาUTC+8 (PHT)
รหัสไปรษณีย์3600–3610
ไอดีดี:รหัสโทรศัพท์+63 (0)74
รหัส ISO 3166PH
Spoken languages

จังหวัดอีฟูเกา (อีฟูเกา: Probinsia ti Ifugao; ฟิลิปปินส์: Lalawigan ng Ifugao) เป็นจังหวัดไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตบริหารคอร์ดิลเยรา เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือลากาเว มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเบงเก็ตทางทิศตะวันตก จังหวัดบูลูบุนดูคินทางทิศเหนือ จังหวัดอีซาเบลาทางทิศตะวันออก และจังหวัดนูเอวาวิซคายาทางทิศใต้

จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของนาขั้นบันไดฟิลิปปินคอร์ดิลเยราและนาขั้นบันไดบานาเว ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัด เชื่อกันว่านาขั้นบันไดเหล่านี้มีอายุประมาณ 2,000 ปี อย่างไรก็ตาม จากการวิจัยโดยใช้การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี นาขั้นบันไดมีอายุน้อยกว่านั้น[3] ในปี ค.ศ. 1995 นาขั้นบันไดทั้งสองแห่งถูกประกาศให้เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก[4] ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 และ 2015 เพลงฮัดฮัดแห่งอีฟูเกา และ พิธีปุนนัก ก็ถูกจัดให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของยูเนสโกเช่นกัน[5][6]

ชื่อ

อีฟูเกามาจากคำว่า i-pugo ("i" [มาจาก/ผู้คน] และ pugo [เนินเขา]) รวมกันจึงแปลว่า ผู้คนแห่งเนินเขา[7]

อ้างอิง

  1. "List of Provinces". PSGC Interactive. National Statistical Coordination Board. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 17, 2013. สืบค้นเมื่อ December 20, 2013.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-10. สืบค้นเมื่อ 2018-03-28.
  3. Cabreza, Vincent (July 15, 2013). "For Ifugao Rice Terraces, Age Should Not Matter". Inquirer.net. สืบค้นเมื่อ August 15, 2022.
  4. "Rice Terraces of the Philippine Cordilleras". UNESCO World Heritage Centre. สืบค้นเมื่อ January 2, 2015.
  5. Respicio, Norma A. (n.d.). "Punnuk, the Tugging Ritual in Hungduan, Closing an Agricultural Cycle". ICH Courier Online. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 2, 2018. สืบค้นเมื่อ January 16, 2018.
  6. "The Hudhud Chants of the Ifugao". UNESCO (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ August 14, 2022.
  7. "Facts & Figures: Ifugao Province". Philippine Statistics Authority - National Statistical Coordination Board. Department of the Interior and Local Government - Cordillera Administrative Region. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-13. สืบค้นเมื่อ 2 January 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

แผนที่พิกัดทั้งหมดใน "Ifugao" กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!