กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพบราซิล
วันที่3–20 สิงหาคม
ทีมทีมชาย 16 ทีม + ทีมหญิง 12 ทีม (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่7 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ บราซิล (ชาย)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (หญิง)
รองชนะเลิศ เยอรมนี (ชาย)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน (หญิง)
อันดับที่ 3 ไนจีเรีย (ชาย)
ธงชาติแคนาดา แคนาดา (หญิง)
อันดับที่ 4 ฮอนดูรัส (ชาย)
ธงชาติบราซิล บราซิล (หญิง)
2012
2020

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 3 สิงหาคม ถึง 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยมี 2 เหรียญทองสำหรับกีฬาชนิดนี้ ซึ่งมอบให้แก่ผู้ชนะเลิศในการแข่งขัน 2 ประเภท ได้แก่ ฟุตบอลชาย และ ฟุตบอลหญิง[1]

การแข่งขันหลักจะจัดที่รีโอเดจาเนโร แต่การแข่งขันจะจัดที่เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ด้วย โดยทั้ง 6 เมืองเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 โดยสนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี เป็นสนามเดียวที่ไม่ได้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก[2][3]

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติร่วมกับฟีฟ่า ในการส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน โดยฟุตบอลชายจะเป็นชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (ผู้เล่นต้องเกิดตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2536 เป็นต้นไป) โดยอนุญาตให้มีผู้เล่นที่อายุเกิน 23 ปีได้ไม่เกิน 3 คน ส่วนทีมฟุตบอลหญิงนั้นไม่จำกัดอายุ[4]

การแข่งขันในครั้งนี้ได้มีการเปิดเผยว่าจะใช้ลูกฟุตบอลประมาณ 430 ลูก[5]

ตารางการแข่งขัน

ตารางการแข่งขันได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558[6][7]

P รอบคัดเลือก ¼ รอบก่อนรองชนะเลิศ ½ รอบนรองชนะเลิศ B รอบชิงอันดับที่ 3 F รอบชิงชนะเลิศ
รายการ↓/วันที่→ พ. 3 พฤ. 4 ศ. 5 ส. 6 อา. 7 จ. 8 อ. 9 พ. 10 พฤ. 11 ศ. 12 ส. 13 อา.14 จ. 15 อ. 16 พ. 17 พฤ. 18 ศ. 19 ส. 20
ชาย P P P ¼ ½ B/F
หญิง P P P ¼ ½ B/F

สนามแข่งขัน

รีโอเดจาเนโร จะจัดการแข่งขันในรอบแรกที่สนามกีฬาโอลิมปิกโฌเอา อาเวลังฌี ส่วนนัดชิงชนะเลิศของฟุตบอลชายและหญิงจะแข่งขันที่สนามกีฬามารากานัง ในวันที่ 19 และ 20 สิงหาคม ตามลำดับ นอกจากรีโอเดจาเนโรแล้วยังมีเมืองที่จัดแข่งขันคือ เซาเปาลู, เบลูโอรีซองชี, บราซิเลีย, ซัลวาดอร์, มาเนาช์ ซึ่งเมืองข้างต้นนั้นเคยจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014[2] ส่วนสนามแข่งขันนัดชิงชนะเลิศนั้นได้รับการประกาศจากฟีฟ่า เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558[3]


รีโอเดจาเนโร รัฐรีโอเดจาเนโร บราซิเลีย นครหลวงสหพันธ์ เซาเปาลู รัฐเซาเปาลู
สนามกีฬามารากานัง สนามกีฬาโอลิมปิก สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา อาเรนาโกริงชังส์

15°47′0.6″S 47°53′56.99″W / 15.783500°S 47.8991639°W / -15.783500; -47.8991639 (Estádio Nacional Mané Garrincha)

23°32′43.91″S 46°28′24.14″W / 23.5455306°S 46.4733722°W / -23.5455306; -46.4733722 (Arena Corinthians)

22°53′35.42″S 43°17′32.17″W / 22.8931722°S 43.2922694°W / -22.8931722; -43.2922694 (Estádio Olímpico João Havelange)

22°54′43.8″S 43°13′48.59″W / 22.912167°S 43.2301639°W / -22.912167; -43.2301639 (Estádio do Maracanã)

ความจุ: 74,738 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
ความจุ: 69,349 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ความจุ: 48,234 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
เบลูโอรีซองชี รัฐมีนัชเจไรช์
มีเนย์เรา

19°51′57″S 43°58′15″W / 19.86583°S 43.97083°W / -19.86583; -43.97083 (Estádio Mineirão)

ความจุ: 58,170 ที่นั่ง[8]
ปรับปรุงใหม่สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
ซัลวาดอร์ รัฐบาเยีย
อาเรนาฟงชีนอวา

12°58′43″S 38°30′15″W / 12.97861°S 38.50417°W / -12.97861; -38.50417 (Arena Fonte Nova)

ความจุ: 51,900 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014
มาเนาช์ รัฐอามาโซนัส
อาเรนาดาอามาโซเนีย

3°4′59″S 60°1′41″W / 3.08306°S 60.02806°W / -3.08306; -60.02806 (Arena da Amazônia)

ความจุ: 40,549 ที่นั่ง[8]
สนามใหม่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014

ทีมที่เข้าแข่งขัน

ทีมชาย

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 15 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]

การคัดเลือก วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552  เดนมาร์ก 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
ฟุตบอลชิงแชมป์เยาวชนอเมริกาใต้ 2015[10] 14 มกราคม – 7 กุมภาพันธ์ 2558  อุรุกวัย 1 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 21 ปีชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2015[11] 17–30 มิถุนายน 2558  เช็กเกีย 4 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
แปซิฟิกเกมส์ 2015[12] 3–17 กรกฎาคม 2558  ปาปัวนิวกินี 1 ธงชาติฟีจี ฟีจี2
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2015 โซนคอนคาแคฟ[13] 1–13 ตุลาคม 2558  สหรัฐอเมริกา 2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
แอฟริกา ยู-23 คัพออฟเนชันส์ 2015[14] 28 พฤศจิกายน – 12 ธันวาคม 2558  เซเนกัล 3 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเยาวชนชุดอายุไม่เกิน 23 ปีชิงแชมป์เอเชีย 2016[15] 12–30 มกราคม 2559  กาตาร์ 3 ธงชาติอิรัก อิรัก
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ฟุตบอลโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2016 นัดเพลย์ออฟคอนคาเคฟ-คอนเมบอล 25–29 มีนาคม 2559 การแข่งขันเหย้า-เยือน3 1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
รวม 16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^2 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
  • ^3 การแข่งขันจัดในโคลอมเบียและสหรัฐอเมริกา

ทีมหญิง

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 12 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 11 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[9]

การคัดเลือก วันที่4 ประเทศที่จัดแข่งขัน4 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 2 ตุลาคม 2552  เดนมาร์ก 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
โกปาอาเมริกา 2014[16] 11–28 กันยายน 2557  เอกวาดอร์ 1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ฟุตบอลโลก 2015[17]
(สำหรับทีมในยูฟ่า)5
6 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม 2558  แคนาดา 2 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือกโซนซีเอเอฟ 2015[14] 2–18 ตุลาคม 2558 การแข่งขันเหย้า-เยือน 2 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว6
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2016[12] 23 มกราคม 2559  ปาปัวนิวกินี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก คอนคาแคฟ 2016[18] 10–21 กุมภาพันธ์ 2559  สหรัฐอเมริกา 2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2016[19] 29 กุมภาพันธ์ – 9 มีนาคม 2559  ญี่ปุ่น[20] 2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติจีน จีน
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ยูฟ่า 2016[21] 2–9 มีนาคม 2559  เนเธอร์แลนด์ 1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รวม 12
  • ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^5 อังกฤษ ได้อันดับที่ 3 ของสมาชิกยูฟ่าในการแข่งขันฟุตบอลโลก แต่อังกฤษไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล และการเจรจาที่จะให้แข่งขันในชื่อสหราชอาณาจักรไม่สำเร็จ
  • ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก

การแข่งขันทีมชาย

การแข่งขันประกอบด้วยรอบแบ่งกลุ่ม และ รอบแพ้คัดออก

รอบแบ่งกลุ่ม

ทีมจะถูกแบ่งใน 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม

กลุ่มเอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล (H) 3 1 2 0 4 0 +4 5 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 1 1 1 1 4 −3 4
3 ธงชาติอิรัก อิรัก 3 0 3 0 1 1 0 3
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 2 1 1 2 −1 2
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ

กลุ่มบี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 2 0 1 6 6 0 6 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 2 0 6 4 +2 5
3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 1 1 7 7 0 4
4 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่มซี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 1 0 12 3 +9 7 เข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 2 0 15 5 +10 5
3 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 1 1 1 7 4 +3 4
4 ธงชาติฟีจี ฟีจี 3 0 0 3 1 23 −22 0
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่มดี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 2 1 0 5 2 +3 7 เข้าสู่ รอบ 8 ทีม
2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 3 1 1 1 5 5 0 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 1 1 1 3 4 −1 4
4 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 3 0 1 2 4 6 −2 1
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
13 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
 
ธงชาติบราซิล บราซิล2
 
17 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย0
 
ธงชาติบราซิล บราซิล6
 
13 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส0
 
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้0
 
20 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส1
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1 (5)
 
13 สิงหาคม — ซัลวาดอร์
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1 (4)
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย2
 
17 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก0
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย0
 
13 สิงหาคม — บราซิเลีย
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส0
 
20 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี4
 
ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส2
 
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย3
 

การแข่งขันทีมหญิง

รอบแบ่งกลุ่ม

ทีมจะถูกแบ่งใน 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ประเทศ โดยจะแข่งขันแบบพบกันหมด รวมทั้งหมด 3 นัด ซึ่งจะได้รับ 3 คะแนนหากชนะ, 1 คะแนนหากเสมอ 2 ทีมที่ได้คะแนนมากที่สุดของกลุ่มจะเข้าสู่รอบ 8 ทีม

กลุ่มอี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล (H) 3 2 1 0 8 1 +7 7 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติจีน จีน 3 1 1 1 2 3 −1 4
3 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 1 1 1 2 5 −3 4
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 1 2 0 3 −3 1
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ

กลุ่ม เอฟ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 3 0 0 7 2 +5 9 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 1 1 9 5 +4 4
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 8 5 +3 4
4 ธงชาติซิมบับเว ซิมบับเว 3 0 0 3 3 15 −12 0
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

กลุ่ม จี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3 2 1 0 5 2 +3 7 รอบก่อนรองชนะเลิศ
2 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 2 0 1 7 1 +6 6
3 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 1 0 2 1 5 −4 3
4 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 0 1 2 2 7 −5 1
แหล่งข้อมูล: ริโอ2016 และ ฟีฟ่า
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตูได้-เสีย; 3) ประตูได้; 4) ทำซ้ำในข้อ 1–3 ในนัดการแข่งขันระหว่างทีมที่มีอันดับเท่ากัน; 5) จับฉลากโดยฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
12 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
 
ธงชาติบราซิล บราซิล (p) 0 (7)
 
16 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0 (6)
 
ธงชาติบราซิล บราซิล0 (3)
 
12 สิงหาคม — บราซิเลีย
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน0 (4)
 
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา1 (3)
 
19 สิงหาคม — รีโอเดจาเนโร
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน (p)1 (4)
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
12 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา1
 
16 สิงหาคม — เบลูโอรีซองชี
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา0
 
12 สิงหาคม — ซัลวาดอร์
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี2 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติจีน จีน0
 
19 สิงหาคม — เซาเปาลู
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1
 
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา2
 

สรุปเหรียญ

ตารางเหรียญการแข่งขัน

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 เยอรมนี 1 1 0 2
2 บราซิล* 1 0 0 1
2 สวีเดน 0 1 0 1
4 แคนาดา 0 0 1 1
ไนจีเรีย 0 0 1 1
รวม 2 2 2 6

ผู้ที่ได้รับเหรียญ

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย
รายละเอียด
บราซิล (BRA)
เวแวร์ตง
เซกา
โรดริกู ไคอู
มาร์ควินญอส
เรนาตู ออกุสตู
โดอูกลัส ซังตูส
ลูอัง
ราฟินญา
กาบรีแยล
เนย์มาร์
กาบรีแยล เฌซุส
วาเลซ
วิลเลียม
ลูอัง การ์เซีย
โรดริกู ดูราโด
ตีอากู ไมอา
เฟลิเป อังเดร์ซง
อูอิลซง
 
เยอรมนี (GER)
ทิโม ฮอร์น
เชเรมี โทลชัน
ลูคัส โคลสเทอร์มันน์
มัทธิอัส กินเทอร์
นิคลาส เซือเลอ
สเวน เบนเดอร์
มักซ์ เมเยอร์
ลาร์ส เบนเดอร์
ดาวี เซลเก
เลออน โกเรตซ์กา
ยูเลียน บรันดท์
ยันนิก ฮูธ
ฟิลิปป์ มักซ์
โรเบิร์ต เบาเออร์
มักซ์ คริสเตียนเซน
กริสชา เพรือเมล
แซร์ช กนาบรี
นิลส์ เพเทอร์เซน
อีริค เดลส์ชลาเกล
ไนจีเรีย (NGR)
ดาเนียล อักเปยี
มูเอนฟูห์ ซินเซเร
คิงส์ลีย์ มาดู
เชฮู อับดุลลาฮี
ซาตูร์ดาย อีริมูยา
วิลเลียม ทรูสต์-อีคองก์
อามินู อูมาร์
ออกเฮเนคาโร อีเตโบ
อิโมห์ อีเซเกียล
จอห์น โอบี มิเกล
จูเนียร์ อาจายี
โปปูลา ซาลิอู
อูมาร์ ซาดิค
อาซูบุยเก โอเกชุควู
เอ็นดิเฟรเก อูโด
สแตนลีย์ อามูไซ
อุสมัน โมฮัมเหม็ด
เอมมานูเอล ดานิเอล
ทีมหญิง
รายละเอียด
เยอรมนี (GER)
อัลมุท ชูลต์
โชเซฟิเน เฮนนิง
ซาสเคีย บาร์ตูเซียค
เลโอนี ไมเออร์
แอนนิเก คราห์น
ซิโมเน เลาเดห์ร
เมลานี เบห์รินเกอร์
เลนา โกเอบลิงก์
อาเลซานดรา ปอปป์
ชเซนิเฟอร์ มารอซซาน
อันยา มิททัค
ตาเบอา เคมเม
ซารา ดาบริตซ์
บาเบทท์ เปเทอร์
มันดี อิสแลคเกอร์
เมลานี เลอูโปลซ์
อิซาเบล เคอร์สชอฟสกี
ลอรา เบนคาร์ธ
สเวนยา ฮูธ
สวีเดน (SWE)
ยอนนา อันเดอร์สสัน
อีมิเลีย แอปเปลควิสต์
โคโซวาเร อัสล์ลานี
เอมมา เบิร์กลุนด์
สตินา แบล็คสเตนิอุส
ฮิลดา คาร์เลน
ลิซา ดาห์ลควิสต์
มักดาเลนา อีริคส์สัน
นิลลา ฟิสเชอร์
โซเฟีย ยาค็อบส์สัน
เฮดวิก ลินดาห์ล
ฟริโดลินา โรลโฟ
เอลิน รูเบนส์สัน
เจสซิกา ซามูเอลส์สัน
ลอตตา เชลิน
แครอลิเน เซเกอร์
ลินดา เซมบรันท์
โอลิเวีย เชาจ์
แคนาดา (CAN)
สเตฟานี แลบเบ
แอลลีชา แชปแมน
คาเดย์ชา บูชานัน
เชลินา ซาดอร์สกี
รีเบคกา ควินน์
เดแอนเน โรส
ไรห์อัน วิลคินสัน
ไดอานา มาเธสัน
โจเซเอ เบลันเกอร์
แอชลีย์ ลอว์เรนซ์
เดซิรี สกอตต์
คริสติเน ซินแคลร์
โซฟี ชมิดท์
เมลิสซา ตันเครดี
นิเชลล์ ปรินซ์
จานิเน เบคกี
เจสซี เฟลมิงก์
ซาบรินา ด'อันเคโล

อ้างอิง

  1. "Circular no. 1383 - Olympic Football Tournaments Rio 2016 - Men's and Women's Tournaments" (PDF). FIFA.com. 1 October 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-12. สืบค้นเมื่อ 2 October 2013.
  2. 2.0 2.1 "Manaus enters race to host Rio 2016 Olympic Games football matches". Rio 2016 official website. 12 กุมภาพันธ์ 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-13. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  3. 3.0 3.1 "Olympic Football Tournaments to be played in six cities and seven stadiums". FIFA.com. 16 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-20. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  4. "Regulations for the Olympic Football Tournaments 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-04-18. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  5. "8,400 shuttlecocks, 250 golf carts, 54 boats... the mind-blowing numbers behind the Rio 2016 Games". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-07. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  6. "Match schedule for Rio 2016 unveiled". FIFA.com. 10 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-08. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  7. "Match Schedule Olympic Football Tournaments Rio 2016" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-02-04. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 "2014 FIFA World Cup Brazil Venues". FIFA.com. 18 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-21. สืบค้นเมื่อ 12 June 2014.
  9. 9.0 9.1 "FIFA ratifies the distribution of seats corresponding to each confederation". CONMEBOL.com. 4 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
  10. "Reglamento – Campeonato Sudamericano Sub-20 Juventud de América 2015" (PDF). CONMEBOL.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  11. "Regulations of the UEFA European Under-21 Championship, 2013–15 competition" (PDF). UEFA.
  12. 12.0 12.1 "OFC Insider Issue 6". Oceania Football Confederation. March 11, 2015. p. 8.
  13. "United States Named Host for CONCACAF Men's Olympic Qualifying Championship 2015". CONCACAF.com. 12 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 13 February 2015.
  14. 14.0 14.1 "CAF Full Calendar". CAFonline.com. 28 February 2015. สืบค้นเมื่อ 28 February 2015.
  15. "Regulations AFC U-23 Championship 2016" (PDF). AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-08-30. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  16. "Reglamento – Copa América Femenina 2014" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23.
  17. "Germany and Norway drawn together". UEFA.com. 6 December 2014.
  18. "2016 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Championship Will be Played in Dallas and Houston". US Soccer. August 12, 2015.
  19. "Groups drawn for First Round of Rio 2016 Women's Qualifiers". Asian Football Confederation. 2014-12-04. สืบค้นเมื่อ 2014-12-04.
  20. "Football - Women's AFC Olympic Qualifying Tournament". Australian Olympic Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-09. สืบค้นเมื่อ 28 July 2015.
  21. "European contenders impress in Canada". UEFA.com. 18 June 2015.

Read other articles:

Salvatore Ferro Berardivescovo della Chiesa cattolica  Incarichi ricopertiVescovo di Catania (1818-1819)  Nato9 aprile 1767 a Trapani Ordinato diacono25 marzo 1790 Ordinato presbitero23 aprile 1791 Nominato vescovo16 marzo 1818 da papa Pio VII Consacrato vescovo23 marzo 1818 dal cardinale Bartolomeo Pacca Deceduto15 dicembre 1819 (52 anni)   Manuale Salvatore Ferro Berardi (Trapani, 9 aprile 1767 – 15 dicembre 1819) è stato un vescovo cattolico italiano. Indice 1 Biogra...

 

Este artigo não cita fontes confiáveis. Ajude a inserir referências. Conteúdo não verificável pode ser removido.—Encontre fontes: ABW  • CAPES  • Google (N • L • A) (Julho de 2020) Sociedade Brasileira de SociologiaQuadro profissionalTipo editor de acesso abertosociedade científicaDomínio de atividade sociologiaPaís  BrasilOrganizaçãoAfiliação Sociedade Brasileira para o Progresso da Ciênciaeditar - editar cód...

 

Perkawinan Nyi BlorongPamfletSutradara Sisworo Gautama Produser Janto Tanujaya Ditulis oleh Haryono Prayitno S. Parya PemeranClift SangraSuzannaAde IrawanEnny BeatriceHIM DamsyikSoendjoto AdibrotoS. ParyaRuth PelupessyPenata musikGatot SudartoSinematograferFES Tarigan M.A.PenyuntingMuryadiPerusahaanproduksiPT Cancermas FilmDistributorSoraya Intercine FilmsTanggal rilis12 November 1983; 40 tahun lalu (1983-11-12)Durasi90 menitNegara IndonesiaBahasa Indonesia Perkawinan Nyi Blorong a...

Election 1862 Oregon gubernatorial election ← 1858 June 2, 1862 1866 →   Nominee A. C. Gibbs John F. Miller Party Republican Democratic Popular vote 7,039 3,450 Percentage 67.11% 32.89% Governor before election John Whiteaker Democratic Elected Governor A. C. Gibbs Republican The 1862 Oregon gubernatorial election took place on June 2, 1862 to elect the governor of the U.S. state of Oregon. The election matched Republican Addison Crandall Gibbs against Democrat...

 

  هذه المقالة عن قوميّة اللُّر. لأشياء أخرى تحمل اسم لور، طالع لور (توضيح). لوريالتعداد الكليالتعداد 9,122,100 نسمةمناطق الوجود المميزة إيران 6,000,000 5,100العراق

 

Программное обеспечение, локализованное на итальянский язык. Видна попытка сделать нейтральную иконку — глобус, повёрнутый Атлантическим океаном. Локализа́ция програ́ммного обеспе́чения — процесс адаптации программного обеспечения к культуре какой-либо стран...

倪華德个人资料别名尼合邁德·蒙加尼出生1922年3月22日中华民国新疆省额敏县逝世1993年6月22日(1993歲—06—22)(71歲)籍贯新疆塔城学历塔城師範畢業、新疆警訓班畢業 经历 新疆省警務處科員遊牧組長[1] 新疆省財政廳副主任秘書 倪華德(Нығымет Мыңжани 1922年3月22日—1993年6月22日),哈薩克族,哈薩克名:尼合(哈)邁德·蒙(孟)加尼 (哈薩克語:Нығымет ...

 

American basketball player (born 1973) For his son and active basketball player, see Glenn Robinson III. For other people, see Glenn Robinson (disambiguation). Glenn RobinsonRobinson with the Atlanta Hawks in 2003Personal informationBorn (1973-01-10) January 10, 1973 (age 50)Gary, Indiana, U.S.Listed height6 ft 7 in (2.01 m)Listed weight243 lb (110 kg)Career informationHigh schoolRoosevelt (Gary, Indiana)CollegePurdue (1992–1994)NBA draft1994: 1st round, 1st ov...

 

American Para-snowboard cross racer (born 1986) Evan Rees Strong2014 Paralympic Gold Medalist 2018 Paralympic Silver MedalistPersonal informationBornNovember 13, 1986 (1986-11-13) (age 37)San Francisco, California, U.S.OccupationAlpine skierHeight5 ft 11 in (180 cm)Skiing careerDisciplinesPara-Snowboard Cross Para-Banked SlalomWebsitewww.strongevan.comParalympicsTeamsUSA 2014 Gold Medal USA 2018 Silver Medal USA 2018 4th placeWorld CupSeasons2012, 2013, 2014,2015,2016...

Rechthoekige driehoek ter illustratie van de stelling van Pythagoras De stelling van Pythagoras is een wiskundige stelling die het verband geeft tussen de lengten van de zijden van een rechthoekige driehoek: In een rechthoekige driehoek is de som van de kwadraten van de lengtes van de rechthoekszijden gelijk aan het kwadraat van de lengte van de schuine zijde. De stelling is naar de Griekse wiskundige Pythagoras genoemd, maar de stelling was alleen voor de Grieken nieuw. Het resultaat was in ...

 

يفتقر محتوى هذه المقالة إلى الاستشهاد بمصادر. فضلاً، ساهم في تطوير هذه المقالة من خلال إضافة مصادر موثوق بها. أي معلومات غير موثقة يمكن التشكيك بها وإزالتها. (ديسمبر 2018) مركز جوسية الحدودي الاسم الرسمي مركز جوسية الحدودي (في سورياولبنان) يحمل مشاة، مركبات، الموقع على الخرائ...

 

Hospital in EnglandEaling HospitalLondon North West University Healthcare NHS TrustLocation within EalingGeographyLocationUxbridge Road, Southall, UB1 3HW, Greater London, England, United KingdomOrganisationCare systemNHS EnglandTypeDistrict GeneralAffiliated universityImperial College LondonServicesEmergency departmentYes Accident & EmergencyBeds~358HistoryOpened1992; 31 years ago (1992)LinksWebsitelnwh.nhs.ukListsHospitals in England Ealing Hospital is a district gener...

This article needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed.Find sources: Operation Aider – news · newspapers · books · scholar · JSTOR (January 2023) (Learn how and when to remove this template message) Operation AiderPart of Ethiopian-Eritrean WarLocationAsmara, EritreaDate29 May 2000TargetAsmara International AirportAttack typeAir...

 

Software and life hacks website and blog This article is about the lifehacker.com website. For information on life hacks in general, see Life hack. LifehackerType of siteBlogAvailable inEnglish, JapaneseOwnerZiff DavisCreated byGina TrapaniEditorJordan CalhounURLlifehacker.comCommercialYesRegistrationOptional, through OpenWebLaunched31 January 2005; 18 years ago (2005-01-31) Lifehacker is a weblog about life hacks and software that launched on January 31, 2005. The...

 

A general education liceum (Polish: Liceum ogólnokształcące [liˈt͡sɛum ɔˌɡulnɔkʂtau̯ˈt͡sɔnt͡sɛ]) is an academic high school in the Polish educational system. They are attended by those who plan to further their academic education upon graduation from szkoła podstawowa (compulsory education) through a path other than Technikum or Vocational school (since it is impossible for one to be at the age of 18 or more upon graduation from szkola podstawowa, thus education is stil...

American politician For other people named Robert Daniel, see Robert Daniel (disambiguation). Robert W. DanielMember of the U.S. House of Representativesfrom Virginia's 4th districtIn officeJanuary 3, 1973 – January 3, 1983Preceded byWatkins AbbittSucceeded byNorman Sisisky Personal detailsBornMarch 17, 1936Richmond, VirginiaDiedFebruary 4, 2012(2012-02-04) (aged 75)Jupiter Island, FloridaResting placeHollywood Cemetery, Richmond, VirginiaPolitical partyRepublican ...

 

Department of Colombia For the district in Peru, see Antioquia District. You can help expand this article with text translated from the corresponding article in Spanish. Click [show] for important translation instructions. Machine translation, like DeepL or Google Translate, is a useful starting point for translations, but translators must revise errors as necessary and confirm that the translation is accurate, rather than simply copy-pasting machine-translated text into the English Wikipedia...

 

UFC mixed martial arts event in 2001 UFC 34: High VoltageThe poster for UFC 34: High VoltageInformationPromotionUltimate Fighting ChampionshipDateNovember 2, 2001VenueMGM Grand Garden ArenaCityLas Vegas, NevadaAttendance9,000Total gate$502,550Buyrate65,000Event chronology UFC 33: Victory in Vegas UFC 34: High Voltage UFC 35: Throwdown UFC 34: High Voltage was a mixed martial arts event held by the Ultimate Fighting Championship at the MGM Grand Garden Arena in Las Vegas, Nevada on November 2,...

  القاجاريين القاجاريونشعار النبالة الدولة إيران الديانة الاسلام الشيعة جعفرية اللغة التركية (الآذرية) الفارسية كلغة ثانية العربية في الجنوب الألقاب قاجاريان المؤسس محمد خان القاجاري الحاكم الحالي: منقرضة سنة التأسيس 1779م نهاية الحكم 1925م الأصول ايرانيون تعديل مصدري - ...

 

الفهميين  -  قرية مصرية -  موقع القرية داخل المركز تقسيم إداري البلد  مصر المحافظة محافظة الجيزة المركز الصف وحدة محلية «وحدة الأقواز» المسؤولون رئيس الوحدة محمد أحمد مبارك عدوي[1] السكان التعداد السكاني 22440 نسمة (إحصاء 2006) معلومات أخرى التوقيت ت ع م+02:00  ا...

 

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!