2 (สอง ) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติ ที่อยู่ถัดจาก 1 (หนึ่ง) และอยู่ก่อนหน้า 3 (สาม)
ตัวอย่างป้ายแสดงทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ของถนนมิตรภาพ
คำเติมนำหน้า
ความหมาย
ชื่อเรียก
ยี่
พระนามของกษัตริย์ เจ้าฟ้า หรือโอรสองค์ที่สอง
อื่น ๆ
ทวิ
ทวิภาคี - สองฝ่าย (เช่น การเจรจาทวิภาคี)
ทวีธาภิเษก - พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ขึ้นเสวยราชสมบัตินานเป็นสองเท่าของพระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้านี้
โท
ลำดับที่สอง
สิบโท / ร้อยโท / พันโท / พลโท -- ยศทางการทหาร และตำรวจ
ปริญญาโท -- ระดับการศึกษาขั้นกลางของระดับอุดมศึกษา
วิวัฒนาการ
ในทางคณิตศาสตร์
เลขสองมีสมบัติหลายอย่างในคณิตศาสตร์ [ 2] จำนวนเต็ม ที่เรียกว่าจำนวนคู่จะหาร 2 ลงตัว สำหรับจำนวนเต็มที่เขียนในระบบตัวเลขจะยึดจากจำนวนคู่ เช่น เลขฐานสิบ และเลขฐานสิบหก การหารสองสามารถตรวจสอบได้ง่ายเพียงดูที่ตัวเลขหลักสุดท้าย ถ้าเป็นจำนวนคู่ ตัวเลขทั้งจำนวนจะเป็นจำนวนคู่ เมื่อเขียนในระบบเลขฐานสิบผลคูณของสองทั้งหมดจะลงท้ายด้วย 0, 2, 4, 6 หรือ 8
เลขสองเป็นจำนวนฟิโบนักชี ลำดับที่สาม และเป็นจำนวน Perrin ลำดับที่ห้า
สองเป็นจำนวนเฉพาะที่น้อยที่สุด เป็นจำนวนแรก และเป็นจำนวนคู่เพียงจำนวนเดียว[ 3] (ด้วยเหตุนี้บางครั้งจึงมีคนเรียกว่าเป็น "จำนวนเฉพาะที่แปลกที่สุด") [ 4] จำนวนเฉพาะถัดไปคือสาม สองและสามเท่านั้นที่เป็นจำนวนเฉพาะที่ติดกัน 2 เป็นจำนวนเฉพาะโซฟี เจอร์เมน จำนวนแรก เป็นจำนวนเฉพาะแฟกทอเรียล จำนวนแรก เป็นจำนวนเฉพาะลูคัส จำนวนแรก เป็นจำนวนเฉพาะรามานุจัน จำนวนแรก และเป็นจำนวนเฉพาะ Smarandache-Wellin จำนวนแรก สองยังเป็นจำนวนเฉพาะไอเซนสไตน์ ที่ไม่มีส่วนจินตภาพและส่วนจริงของพจน์
3
n
− − -->
1
{\displaystyle 3n-1}
สองยังเป็นจำนวนเฉพาะสเติร์น จำนวนเพลล์ จำนวนเฉพาะฟิโบนักชี จำนวนแรก และเป็นจำนวนมาร์คอฟ ปรากฏในหลายคำตอบของสมการมาร์คอฟ ดิโอแฟนไทน์ที่เกี่ยวข้องกับจำนวนเพลล์
สำหรับจำนวน x ใด ๆ
x +x = 2·x จาก การบวก เป็น การคูณ
x ·x = x 2 จาก การคูณ เป็น การยกกำลัง
x x = x ↑↑2 จาก การยกกำลัง เป็น การยกกำลังซ้อน
สองมีคุณสมบัติโดดเด่นว่า 2+2 = 2·2 = 2²=2 ↑↑2=2 ↑↑↑2 เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ ไม่ว่าการดำเนินการจะซับซ้อนขึ้นเท่าใด
โดยทั่วไป:
hyper (x, n, x) = hyper (x, n+1, 2)
สองเป็นจำนวน x จำนวนเดียวที่ผลรวมของส่วนกลับของกำลังของ x เท่ากับตัวเอง จากสมการ
∑ ∑ -->
k
=
0
∞ ∞ -->
1
2
k
=
1
+
1
2
+
1
4
+
1
8
+
1
16
+
⋯ ⋯ -->
=
2.
{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }{\frac {1}{2^{k}}}=1+{\frac {1}{2}}+{\frac {1}{4}}+{\frac {1}{8}}+{\frac {1}{16}}+\cdots =2.}
นี่มาจากข้อเท็จจริงว่า
∑ ∑ -->
k
=
0
∞ ∞ -->
1
n
k
=
1
+
1
n
− − -->
1
for all
n
∈ ∈ -->
R
>
1.
{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }{\frac {1}{n^{k}}}=1+{\frac {1}{n-1}}\quad {\mbox{for all}}\quad n\in \mathbb {R} >1.}
กำลังของสอง เป็นศูนย์กลางของแนวคิดของจำนวนเฉพาะแมร์แซน และสำคัญต่อวิทยาการคอมพิวเตอร์ สองเป็นเลขชี้กำลังเฉพาะแมร์แซนจำนวนแรก
การใส่เครื่องหมายรากที่สอง ครอบจำนวนใด ๆ เป็นการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่พบได้ทั่วไป จะไม่เขียนเลขกำกับที่เครื่องหมายราก เนื่องจากถือว่าเป็นปริยาย แต่ในกรณีที่เป็นรากที่สามหรือรากอื่น ๆ จะเขียนตัวเลขนั้น ๆ กำกับไว้ที่เครื่องหมายราก
รากที่สองของสอง เป็นจำนวนอตรรกยะ จำนวนแรกที่เป็นที่รู้จัก
ฟีลด์ ที่เล็กที่สุดมีสมาชิกสองตัว
สองเป็นคำตอบของปัญหาควีน n ตัว โดยที่ n = 4 มีข้อยกเว้นคือ คำตอบของปัญหาของ Znám เริ่มด้วย 2
สองมีสมบัติโดดเด่น เช่นว่า
∑ ∑ -->
k
=
0
n
− − -->
1
2
k
=
2
n
− − -->
1
{\displaystyle \sum _{k=0}^{n-1}2^{k}=2^{n}-1}
และ
∑ ∑ -->
k
=
a
n
− − -->
1
2
k
=
2
n
− − -->
∑ ∑ -->
k
=
0
a
− − -->
1
2
k
− − -->
1
{\displaystyle \sum _{k=a}^{n-1}2^{k}=2^{n}-\sum _{k=0}^{a-1}2^{k}-1}
โดยที่ a ไม่เท่ากับศูนย์
ในปริภูมิ n มิติ สำหรับ n ใด ๆ จุด สองจุดที่ห่างกันจะกำหนดเส้นตรง หนึ่งเส้น
ตารางการคำนวณพื้นฐาน
การหาร
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
2
÷ ÷ -->
x
{\displaystyle 2\div x}
2
1
0.6
0.5
0.4
0.3
0.285714
0.25
0.2
0.2
0.18
0.16
0.153846
0.142857
0.13
x
÷ ÷ -->
2
{\displaystyle x\div 2}
0.5
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
5.5
6
6.5
7
7.5
ในทางวิทยาศาสตร์
ในทางเทคโนโลยี
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
↑ เชื่อว่าพระเชษฐาองค์แรกที่ชื่ออ้าย ได้เสียชีวิตไปในวัยเยาว์ ทำให้พระโอรสองค์โตที่ยังพระชนม์ชีพชื่อว่า ยี่
↑ Wells, D. The Penguin Dictionary of Curious and Interesting Numbers London: Penguin Group. (1987) : 41–44
↑ Bryan Bunch, The Kingdom of Infinite Number . New York: W. H. Freeman & Company (2000) : 31
↑ John Horton Conway & Richard K. Guy, The Book of Numbers . New York: Springer (1996) : 25. ISBN 0-387-97993-X . "Two is celebrated as the only even prime, which in some sense makes it the oddest prime of all."