Chemical element, symbol Nb and atomic number
ไนโอเบียม, 00 Nb ไนโอเบียม การอ่านออกเสียง (ny -OH-bee -əm ) รูปลักษณ์ สีเทามันวาว, แกมสีน้ำเงินเมื่อออกซิไดส์ Standard atomic weight A r °(Nb) 92.90637 ± 0.00001 92.906± 0.001 (abridged)[ 1]
ไนโอเบียมในตารางธาตุ
หมู่ group 5 คาบ คาบที่ 5 บล็อก บล็อก-d การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Kr ] 4d4 5s1 จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น 2, 8, 18, 12, 1 สมบัติทางกายภาพ วัฏภาค ณ STP solid จุดหลอมเหลว 2750 K (2477 °C, 4491 °F) จุดเดือด 5017 K (4744 °C, 8571 °F) ความหนาแน่น (ใกล้ r.t. ) 8.57 g/cm3 ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว 30 kJ/mol ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ 689.9 kJ/mol ความจุความร้อนโมลาร์ 24.60 J/(mol·K) ความดันไอ
P (Pa)
1
10
100
1 k
10 k
100 k
at T (K)
2942
3207
3524
3910
4393
5013
สมบัติเชิงอะตอม เลขออกซิเดชัน −3, −1, 0, +1, +2, +3, +4, +5 (ออกไซด์เป็นกรด เล็กน้อย) อิเล็กโตรเนกาทิวิตี Pauling scale: 1.6 รัศมีอะตอม empirical: 146 pm รัศมีโคเวเลนต์ 164±6 pm Color lines in a spectral range เส้นสเปกตรัม ของไนโอเบียมสมบัติอื่น การมีอยู่ในธรรมชาติ primordial โครงสร้างผลึก body-centered cubic (bcc) การขยายตัวจากความร้อน 7.3 µm/(m⋅K) การนำความร้อน 53.7 W/(m⋅K) สภาพต้านทานไฟฟ้า 152 nΩ⋅m (ณ 0 °C) ความเป็นแม่เหล็ก พาราแมกเนติก มอดุลัสของยัง 105 GPa โมดูลัสของแรงเฉือน 38 GPa Bulk modulus 170 GPa Speed of sound thin rod 3480 m/s (ณ 20 °C) อัตราส่วนปัวซง 0.40 Mohs hardness 6.0 Vickers hardness 870–1320 MPa Brinell hardness 735–2450 MPa เลขทะเบียน CAS 7440-03-1 ประวัติศาสตร์ การตั้งชื่อ ตั้งชื่อตามเทพไนโอบี เทพเจ้าตำนานกรีก, บุตรสาวของเทพแทนทาลัส (แทนทาลัม) การค้นพบ ชาร์ลส์ แฮตเช็ตต์ (1801) การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรก คริสเตียน วิลเฮล์ม บลอมสตรันด์ (1864) ถูกจัดเป็น ธาตุ โดย ไฮน์ริช โรส (1844)ไอโซโทปของไนโอเบียม ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของไนโอเบียม หมวดหมู่: ไนโอเบียม | แหล่งอ้างอิง
ไนโอเบียม (อังกฤษ : Niobium ) เป็นธาตุ ที่มีเลขอะตอม 41 และสัญลักษณ์คือ Nb ไนโอเบียมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีเทาหายาก อ่อนนุ่ม ตีเป็นแผ่นได้ พบในแร่ไนโอไบต์และแร่โคลัมไบต์
การใช้ประโยชน์
ข้อถกเถียงชื่อของธาตุ
ชื่อเก่าของไนโอเบียม 'โคลัมเบียม (อักษรย่อ Cb)'[ 2] ตั้งชื่อโดย Hatchett จากการค้นพบธาตุในปี 1801 โดยตั้งตามภูมิภาคที่ค้นพบแร่ ที่นำมาสกัดเป็นโลหะที่มีส่วนผสมของไนโอเบียม [ 3] ต่อมามีการค้นพบและสกัดจากแร่ในภูมิภาคยุโรปและตั้งชื่อว่า ไนโอเบียม และได้มีการจัดให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม ในในการประชุมเคมีนานาชาติครั้งที่ 12 ที่กรุงอัมเตอร์ดัมในปี 1949.[ 4] ปีต่อมา สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC)ได้ตกลงให้ใช้ชื่อ ไนโอเบียม
อ้างอิง
↑ "Standard Atomic Weights: Niobium" . CIAAW . 2017.
↑ Kòrösy, F. (1939). "Reaction of Tantalum, Columbium and Vanadium with Iodine". Journal of the American Chemical Society . 61 (4): 838–843. doi :10.1021/ja01873a018 .
↑ Nicholson, William , บ.ก. (1809), The British Encyclopedia: Or, Dictionary of Arts and Sciences, Comprising an Accurate and Popular View of the Present Improved State of Human Knowledge , vol. 2, Longman, Hurst, Rees, and Orme , p. 284, เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2019, สืบค้นเมื่อ 13 July 2017 .
↑ Rayner-Canham, Geoff; Zheng, Zheng (2008). "Naming elements after scientists: an account of a controversy". Foundations of Chemistry . 10 (1): 13–18. doi :10.1007/s10698-007-9042-1 . S2CID 96082444 .