ไชนีสซูเปอร์ลีก

ไชนีสซูเปอร์ลีก (CSL)
ก่อตั้ง2547
ประเทศธงของประเทศจีน จีน
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
จำนวนทีม16
ระดับในพีระมิด1
ตกชั้นสู่ไชนีสลีกวัน
ถ้วยระดับประเทศเอฟเอคัพ
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
(4 ทีม)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันเซี่ยงไฮ้พอร์ต (สมัยที่ 3)
(2567)
ชนะเลิศมากที่สุดกว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(8 สมัย)
เว็บไซต์CSL.lesports.com
ปัจจุบัน: ฤดูกาล 2568

ไชนีสซูเปอร์ลีก (จีนตัวย่อ: 中国足球协会超级联赛; จีนตัวเต็ม: 中國足球協會超級聯賽; พินอิน: Zhōngguó Zúqiú Xiéhuì Chāojí Liánsài), ซูเปอร์ลีกที่ถูกสร้างขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลจีนมาแทนลีกเดิมที่มีชื่อว่า เจีย-เอลีก (Jia-A League) ในปี 2547 โดยเริ่มต้นมีเพียง 12 ทีมเข้าร่วมการแข่ง จนกระทั่งในปี 2552 ได้เพิ่มจำนวนทีมเข้าร่วมเป็น 16 ทีม

ผู้สนับสนุน

  • 2547: Siemens (ซีเมนส์ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2548: ไม่มีผุ้สนับสนุน (ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2549: iPhox (ไอพอก ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2550 ถึง 2551: Kingway (คิงเวย์ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2552 ถึง 2553: Pirelli (พิเรลลี่ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2554 ถึง 2556: Wanda Plaza (ว่านต๋า ไชนีสซูเปอร์ลีก)
  • 2557 ถึง 2565: Ping An Insurance (ไชนา ผิงอัน ไชนีสซูเปอร์ลีก)

ประวัติ

สโมสรในซูเปอร์ลีก

สโมสร ชื่อภาษาจีน สถานที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ ฤดูกาลในลีกสูงสุด อันดับที่ดีที่สุด อันดับที่แย่ที่สุด ลีกสูงสุดตั้งแต่
เป่ย์จิง เหรินเหอ 北京人和 ปักกิ่ง สนามกีฬาเป่ย์จิงเฟิงไถ 31,043 2004-2015, 2018 อันดับ 3 (2004) อันดับ 15 (2015) 2018
เป่ย์จิง กั๋วอัน 北京中赫国安 ปักกิ่ง เวิร์กเกอร์สเตเดียม 66,000 2004-ปัจจุบัน อันดับ 1 (2009) อันดับ 9 (2017) 2004
ฉางชุน ย่าไท่ 长春亚泰 ฉางชุน

มณฑลจี๋หลิน

สนามกีฬานครฉางชุน 38,500 2006-ปัจจุบัน อันดับ 1 (2007) อันดับ 14 (2013) 2006
ฉงชิ่ง ตางไต้ลี่ฟาน 重庆当代力帆 ฉงชิ่ง ฉงชิ่งโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์ 58,600 2004-2006, 2009-2010, 2015-ปัจจุบัน อันดับ 8 (2015, 2016) อันดับ 16 (2009) 2015
ต้าเหลียน อีฟาง 大连一方 ต้าเหลียน

มณฑลเหลียวหนิง

ต้าเหลียนสปอร์ตเซ็นเตอร์ 61,000 2012-2014, 2018 อันดับ 5 (2012, 2013) อันดับ 15 (2014) 2018
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เถาเป่า 广州恒大淘宝 กว่างโจว

มณฑลกวางตุ้ง

สนามกีฬาเทียนเหอ 58,500 2008-2009, 2011-ปัจจุบัน อันดับ 1 (2011-2017) อันดับ 9 (2009) 2011
กว่างโจว อาร์แอนด์เอฟ 广州富力 กว่างโจว

มณฑลกวางตุ้ง

สนามกีฬาเยว่ซิ่วซาน 18,000 2004-2010, 2012-ปัจจุบัน อันดับ 3 (2014) อันดับ 16 (2010) 2012
กุ้ยโจว เหิงเฟิง 贵州恒丰 กุ้ยหยาง

มณฑลกุ้ยโจว

กุ้ยหยางโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์ 52,888 2017-ปัจจุบัน อันดับ 8 (2017) 2017
เหอเป่ย์ ซีเอฟเอฟซี 河北华夏幸福 หลางฝาง

มณฑลเหอเป่ย์

สนามกีฬาหลางฝาง 30,040 2016-ปัจจุบัน อันดับ 4 (2017) อันดับ 7 (2016) 2016
เหอหนาน เจี้ยนเย่ 河南建业 เจิ้งโจว

มณฑลเหอหนาน

สนามกีฬาเจิ้งโจวหางไห่ 29,800 2007-2012, 2014-ปัจจุบัน อันดับ 3 (2009) อันดับ 16 (2012) 2014
เจียงซู ซูหนิง 江苏苏宁 หนานจิง

มณฑลเจียงซู

หนานจิงโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์ 62,000 2009-ปัจจุบัน อันดับ 2 (2012, 2016) อันดับ 13 (2013) 2009
ซานตง หลู่เนิ่ง ไท่ซาน 山东鲁能泰山 จี่หนาน

มณฑลซานตง

จี่หนานโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์ 56,800 2004-ปัจจุบัน อันดับ 1 (2006, 2008, 2010) อันดับ 14 (2016) 2004
เซี่ยงไฮ้ กรีนแลนด์ เสิ่นหัว 上海绿地申花 เซี่ยงไฮ้ สนามฟุตบอลหงโข่ว 33,000 2004-ปัจจุบัน อันดับ 2 (2005, 2006, 2008) อันดับ 11 (2011, 2017) 2004
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 上海上港 เซี่ยงไฮ้ เซี่ยงไฮ้สเตเดียม 56,800 2013-ปัจจุบัน อันดับ 2 (2015, 2017) อันดับ 9 (2013) 2013
เทียนจิน ฉวนเจียน 天津权健 เทียนจิน สนามฟุตบอลเพื่อการศึกษาห่ายเหอ 30,000 2017-ปัจจุบัน อันดับ 3 (2017) 2017
เทียนจิน ไท่ต้า 天津泰达 เทียนจิน เทียนจินโอลิมปิกเซ็นเตอร์ 54,700 2004-ปัจจุบัน อันดับ 2 (2010) อันดับ 13 (2015, 2017) 2004

ทีมชนะเลิศ

ไชนีสซูเปอร์ลีก

ฤดูกาล ทีมชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3
2024 เซียงไฮ้พอร์ต เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว เฉิงตู หรงเฉิง
2023 เซียงไฮ้พอร์ต ชานตงไท่ชาน เจ้อเจียง
2022 อู่ฮั่น ชานตงไท่ชาน เจ้อเจียง
2021 ชานตงไท่ชาน เซียงไฮ้พอร์ต กว่างโจว
2020 เจียงซูซูหนิง กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ปักกิ่ง กั๋วอัน
2019 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ปักกิ่ง กั๋วอัน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
2018 เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ชานตง หลู่เหนิง ไท่ชาน
2017 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี เทียนจิน ฉวนเจียน
2016 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เจียงซูซูหนิง เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
2015 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี ชานตง หลู่เหนิงไท่ชาน
2014 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ปักกิ่ง กั๋วอัน Guangzhou R&F
2013 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ซานตง หลู่เหนิง ปักกิ่ง กั๋วอัน
2012 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เจียงซูซูหนิง ปักกิ่ง กั๋วอัน
2011 กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ปักกิ่ง กั๋วอัน เหลียวหลิง ฮูวิน
2010 ซานตง หลู่เหนิง เทียนจิน เทนด้า เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว
2009 ปักกิ่ง กั๋วอัน ซานตง หลู่เหนิง เหอหนาน เจี้ยนเย้
2008 ซานตง หลู่เหนิง เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ปักกิ่ง กั๋วอัน
2007 ชางชุน ย่าไท่ ปักกิ่ง กั๋วอัน ซานตง หลู่เหนิง
2006 ซานตง หลู่เหนิง เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ปักกิ่ง กั๋วอัน
2005 ต้าเหลียน ซรือเต้อ เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ซานตง หลู่เหนิง
2004 เซินเจิ้น เจียนลี่เปา ซานตง หลู่เหนิง อินเตอร์ เซี่ยงไฮ้

เจีย-เอลีก

ฤดูกาล ทีมชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3
2546 Shanghai Shenhuavacant 1 Shanghai International Dalian Shide
2545 Dalian Shide Shenzhen Jianlibao เป่ย์จิงกั๋วอัน
2544 Dalian Shide Shanghai Shenhua Liaoning Fushun
2543 Dalian Shide Shanghai Shenhua Sichuan Quanxing
2542 ชานตงหลู่เหนิงไท่ชาน Liaoning Fushun Sichuan Quanxing
2541 Dalian Wanda Shanghai Shenhua เป่ย์จิงกั๋วอัน
2540 Dalian Wanda Shanghai Shenhua เป่ย์จิงกั๋วอัน
2539 Dalian Wanda Shanghai Shenhua Bayi Football Team
2538 Shanghai Shenhua เป่ย์จิงกั๋วอัน Dalian Wanda
2537 Dalian Wanda Guangzhou Apollo Shanghai Shenhua

สโมสรที่ประสบความสำเร็จ

สโมสร ชนะเลิศ (ครั้ง) รองชนะเลิศ (ครั้ง) ฤดูกาลที่ชนะเลิศ ฤดูกาลที่ได้รองชนะเลิศ
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
8
2
2011, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017,2019 2018,2020
Dalian Shide
8
0
1994, 1996, 1997, 1998, 2000, 2001, 2002, 2005
ชานตงไท่ชาน
4
4
2006, 2008, 2010, 2021 2004, 2013, 2022, 2023
เซี่ยงไฮ้พอร์ต
3
3
2018, 2023,2024 2015, 2017, 2021
เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว
1
9
1995 1996, 1997, 1998, 2000, 2001, 2005, 2006, 2008,2024
ปักกิ่ง กั๋วอัน
1
4
2009 1995, 2007, 2011, 2014
เจียงซูซูหนิง
1
2
2020 2012, 2016
Shenzhen Ruby
1
1
2004 2002
Changchun Yatai
1
1
2007 2009
Liaoning Whowin
0
1
1999
Guizhou Renhe
0
1
2003
Tianjin Teda
0
1
2010

รางวัล


รางวัลอย่างเป็นทางการจาก CSL ผู้เล่นยอดเยี่ยม ผู้จัดการ และ กรรมการประจำฤดูกาล ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของพวกเขาในช่วงฤดูนั้น
รางวัล มิสเตอร์ ฟุตบอลลีก โกล์เด้นบอล
รางวัลดาวซัลโวโกล์เด้นบูต
รางวัลดาวซัลโวสำหรับนักแตะจีน
รางวัลกรรมการยอดเยี่ยมประจำปี
รางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำปี
รางวัลเยาวชนยอดเยี่ยมประจำปี

นักเตะทรงคุณค่าของลีก

รางวัลนักเตะทรงคุณค่าของลีก มีชื่อว่า มิสเตอร์ ฟุตบอลลีก โกล์เด้นบอล

ปี นักแตะ สโมสร สัญชาติ
2004 Zhao Junzhe เหลียวหลิง ฮูวิน ธงของประเทศจีน จีน
2005 Branko Jelic ปักกิ่ง กั๋วอัน ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
2006 Zheng Zhi ซานตง ลู่เนิ่ง ธงของประเทศจีน จีน
2007 Du Zhenyu ชางชุน ย่าไท่ ธงของประเทศจีน จีน
2008 Emil Martínez เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ธงของประเทศฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
2009 Samuel Caballero ชางชุน ย่าไท่ ธงของประเทศฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
2010 Duvier Riascos เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
2011 Muriqui กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ธงของประเทศบราซิล บราซิล

ผู้ทำประตูสูงสุด

รางวัลดาวซัลโว"รางวัล โกล์เด้นบูต"

ฤดูกาล นักแตะ สโมสร ประตู
2004 กานา Kwame Ayew อินเตอร์ เซี่ยงไฮ้ 17
2005 เซอร์เบีย Branko Jelić ปักกิ่ง กั๋วอัน 21
2006 จีน Li Jinyu ซานตง ลู่เนิ่ง 26
2007 จีน Li Jinyu ซานตง ลู่เนิ่ง 15
2008 บราซิล Éber Luís เทียนจิน เทนด้า 14
2009 อาร์เจนตินา Hernán Barcos
ฮอนดูรัส Luis Ramírez
เซินเจิ้น เอเชีย ทราเวล
กว่างโจว จีพีซี
17
2010 โคลอมเบีย Duvier Riascos เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว 20
2011 บราซิล Muriqui กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 16

ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม

ที่ได้รับรางวัลไม่จำเป็นต้องไปที่ผู้ฝึกสอนของทีมชนะเลิศ

Year Manager Club Standings Nationality
2554 Ma Lin เหลียวหลิง ฮูวิน ทีมอันดับที่ 3 ไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศจีน จีน
2553 Branko Ivankovic ซานตง ลู่เนิ่ง ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย
2552 Tang Yaodong เหอหนาน เจี้ยนเย้ ทีมอันดับที่ 3 ไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศจีน จีน
2551 Ljubisa Tumbakovic ซานตง ลู่เนิ่ง ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
2550 Gao Hongbo ชางชุน ย่าไท่ ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศจีน จีน
2549 Ljubisa Tumbakovic ซานตง ลู่เนิ่ง ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก; ทีมชนะเลิศเอฟเอคัพ ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
2548 Vladimir Petrovic Pizon ต้าเหลียน ซรือเต้อ ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก; ทีมชนะเลิศเอฟเอคัพ ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
2547 Zhu Guanghu เซินเจิ้น เจียนลี่เปา ทีมชนะเลิศไชนีสซูเปอร์ลีก ธงของประเทศจีน จีน

ทีมชนะเลิศลีกสำรอง

ในช่วงที่ลีกสุดของยังใช้ชื่อเจีย-เอลีก (Jia-A League), ลีกทีมสำรองมีชื่อเรียกว่า "โอลิมปิก ลีก" หรือว่า "โคคา-โคล่า ลีก", และไม่มีการแข่งขันลีกสำรองในฤดูกาล 2547 กับ 2548 ของไชนีสซูเปอร์ลีก และกลับมาเริ่มลีกสำรองกันโดยร่วมเอาทีมจากไชนีสซูเปอร์ลีก ไชนีสลีก 1 และ ไชนีสลีก 2 เข้าแข่งขัน

Season Winners
2006 ซานตง ลู่เนิ่ง
2007 เทียนจิน เทนด้า
2008 หวู่ฮั่น ออปติกส์ วัลเลย์
2010 ซานตง ลู่เนิ่ง
2011 ซานตง ลู่เนิ่ง

ทีมชนะเลิศลีกเยาวชน

มีลักษณะการจัดการเหมือนกับลีกทีสำรอง ในช่วงแรกใช้ชื่อรายการแข่งขันว่า "แอดดิดาสลีก" จนกระทั่งในปี 2548 ได้เปลี่ยนมาเป็น "ไนกี้ลีก"

ฤดูกาล เยาชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี เยาชนรุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี ยุวชนรุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี
2554 ปักกิ่ง กั๋วอัน สมาคมฟุตบอลเซี่ยงไฮ้ สมาคมฟุตบอลหูเป่ย
2553 งดการแข่งขัน ซานตง ลู่เนิ่ง เซี้ยงไฮ้ ลักกี้สตาร์
2552 ซานตง ลู่เนิ่ง ชางชุน ย่าไท่ สมาคมฟุตบอลหวู่ฮั่น
2551 ปักกิ่ง กั๋วอัน ชางชุน ย่าไท่ ซานตง ลู่เนิ่ง
2550 ฉงชิ่ง ลี่ฟาน ซานตง ลู่เนิ่ง ซานตง ลู่เนิ่ง
2549 ปักกิ่ง กั๋วอัน ซานตง ลู่เนิ่ง ซานตง ลู่เนิ่ง
2548 ซานตง ลู่เนิ่ง ซานตง ลู่เนิ่ง ซานตง ลู่เนิ่ง
2547 เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว ซานตง ลู่เนิ่ง ซานตง ลู่เนิ่ง

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!