อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2024

อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
เมืองนครราชสีมา
วันที่2–10 พฤศจิกายน
ทีม9
สถานที่เทอร์มินอล 21 โคราช
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
อันดับที่ 3ธงชาติไทย ไทย
อันดับที่ 4ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน12
จำนวนประตู93 (7.75 ประตูต่อนัด)
2022
2026
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567

การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2024 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 18 ของอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ จัดขึ้นโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (เอเอฟเอฟ) ในการแข่งฟุตซอล ซึ่งครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกที่มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งเป็นฟุตซอลชิงแชมป์อาเซียน ทัวร์นาเมนต์นี้จัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567[1][2]

สนามแข่งขัน

แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นที่ เทอร์มินอล ฮอลล์ - เทอร์มินอล 21 โคราช นครราชสีมา

นครราชสีมา
เทอร์มินอล ฮอลล์, เทอร์มินอล 21 โคราช
ความจุ : 3,500

ทีม

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก

ไม่มีการคัดเลือก และทุกทีมทั้งหมดเข้ามาเล่นในทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย โดยมี 9 ทีมด้านล่างนี้จากชาติสมาคมของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน เข้าร่วมแข่ง

ทีม สมาคม เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
ธงชาติไทย ไทย เอฟเอ ไทยแลนด์ ครั้งที่ 17 ชนะเลิศ (2001, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2022)
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เอฟเอ อินโดนีเซีย ครั้งที่ 16 ชนะเลิศ (2010)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย เอฟเอ มาเลเซีย ครั้งที่ 18 รองชนะเลิศ (2003, 2005, 2010, 2017, 2018)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ฟุตบอลออสเตรเลีย ครั้งที่ 7 รองชนะเลิศ (2007, 2013, 2014, 2015)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เอฟเอฟ ครั้งที่ 15 รองชนะเลิศ (2009, 2012)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า เมียนมาร์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 15 รองชนะเลิศ (2016)
ธงชาติบรูไน บรูไน เอฟเอ บรูไน ดีเอส ครั้งที่ 15 อันดับที่ 4 (2001, 2005 และ 2008)
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา เอฟเอฟ กัมพูชา ครั้งที่ 7 อันดับที่ 4 (2003, 2006)
ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต ครั้งที่ 11 อันดับที่ 4 (2016)
ไม่ได้เข้าร่วม
ธงชาติลาว ลาว
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์

การจับสลาก

การจับสลากจัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2567.[2]

9 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสองทีมกับกลุ่มสุดท้ายจะมีสามทีมกับทีมวาง ขึ้นอยู่กับผลงานของพวกเขาในครั้งที่ผ่านมา การจัดทีมวางจะแสดงอยู่ในวงเล็บ

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
ธงชาติไทย ไทย (1) (เจ้าภาพ)

ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (2)

ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม (3)

ธงชาติประเทศพม่า พม่า (4)

ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (5)

ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (6)

ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา (7)

ธงชาติบรูไน บรูไน (8)

ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต (9)

รอบแบ่งกลุ่ม

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น: UTC+7.

กลุ่ม เอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4 4 0 0 23 3 +20 12 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติไทย ไทย (H) 4 3 0 1 25 5 +20 9
3 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 4 2 0 2 14 5 +9 6
4 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 4 1 0 3 7 16 −9 3
5 ธงชาติบรูไน บรูไน 4 0 0 4 3 43 −40 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
(H) เจ้าภาพ
เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม4–1ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต
รายงาน
บรูไน ธงชาติบรูไน0–11ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
รายงาน
ติมอร์-เลสเต ธงชาติติมอร์-เลสเต1–7ธงชาติไทย ไทย
รายงาน
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย1–3ธงชาติไทย ไทย
รายงาน
ผู้ชม: 2,300 คน
ผู้ตัดสิน: Leung Chung Yin (ฮ่องกง)
ไทย ธงชาติไทย2–3ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
รายงาน
ผู้ชม: 2,416 คน
ผู้ตัดสิน: Moon Dae-sung (เกาหลีใต้)

กลุ่ม บี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 3 0 0 17 2 +15 9 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 13 8 +5 4
3 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 3 1 1 1 9 12 −3 4
4 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 3 0 0 3 6 23 −17 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย9–0ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
รายงาน

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

  รอบรองชนะเลิศ นัดชิงชนะเลิศ
8 พฤศจิกายน - เทอร์มินอล ฮอลล์, นครราชสีมา
 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
(ต่อเวลา)
 5  
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  4  
 
10 พฤศจิกายน - เทอร์มินอล ฮอลล์, นครราชสีมา
     ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม  0
   ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย  2
นัดชิงอันดับที่ 3
8 พฤศจิกายน - เทอร์มินอล ฮอลล์, นครราชสีมา 10 พฤศจิกายน - เทอร์มินอล ฮอลล์, นครราชสีมา
 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย  5  ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  0
 ธงชาติไทย ไทย  1    ธงชาติไทย ไทย  4

รอบรองชนะเลิศ

เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม5–4 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
อินโดนีเซีย ธงชาติอินโดนีเซีย5–1ธงชาติไทย ไทย
ผู้ชม: 3,264 คน
ผู้ตัดสิน: Leung Chung Yin (ฮ่องกง)

นัดชิงอันดับที่ 3

นัดชิงชนะเลิศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Calendar". AFF - The Official Website Of The Asean Football Federation (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2024-10-04.
  2. 2.0 2.1 "Champs Thailand in Group A of ASEAN Futsal". ASEAN Football Federation (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2024-09-27. สืบค้นเมื่อ 2024-10-04.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!